Page 40 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 40

๓) การประหารชีวิตโดยการรมแก๊ส (Gas Chamber)                                          ๖) การปาด้วยก้อนหิน (Stoning)

                        การประหารชีวิตโดยการรมแก๊ส เป็นการประหารชีวิตด้วยการ                                 การปาด้วยก้อนหิน เป็นการประหารชีวิตด้วยการใช้หินขว้างจนตาย
          รมแก๊สไซยาไนด์ โดยการจัดให้นักโทษประหารชีวิตอยู่ในห้องหรือตู้ที่ไม่มีอากาศผ่าน       ซึ่งปรากฏวิธีการประหาร โดยการเอาตัวนักโทษมาฝังทรายหรือดิน แล้วให้ผู้เสียหาย
          เข้าไปได้ และจัดให้มีช่องสำาหรับใส่สารโพแทสเซียมไซยาไนด์ หรือโซเดียมไซยาไนด์         หรือฝูงชนใช้ก้อนหินที่จัดเตรียมไว้ขว้างใส่ศีรษะจนขาดใจตาย (สำานักงานคณะกรรมการ

          ผสมกับกรดไอโดรคลอริก เพื่อให้เกิดเป็นแก๊สไฮโดรไซยานิกขึ้นในห้องหรือตู้ที่จัดไว้      สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๕๗)
          จากนั้นแก๊สจะทำาลายความสามารถในการผลิตเฮโมโกลบินในเม็ดเลือดส่งผลให้นักโทษ                          จากรูปแบบการประหารชีวิตข้างต้น พบว่า การประหารชีวิตที่ใช้

          หมดสติในเวลาไม่กี่วินาทีและเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็ว เมื่อนักโทษเสียชีวิตแล้ว        ในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๗๘ เป็นต้นมา ได้มีการใช้การยิงเป้า จวบจนกระทั่งใน
          เจ้าหน้าที่จะสวมชุดและหน้ากากป้องกันแก๊สเข้าทำาความสะอาดศพ (สำานักงานคณะกรรมการ      ปัจจุบันประเทศไทยได้ใช้รูปแบบการประหารชีวิตด้วยการฉีดสารพิษเข้าร่างกาย ตั้งแต่
          สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๕๗)                                                          ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นต้นมา


                     ๔) การแขวนคอ (Hanging)
                        การแขวนคอเป็นการประหารชีวิตด้วยการใช้เชือกผูกที่คอของนักโทษ                 ๒.๒.๒ ข้อห้ามของการบังคับโทษประหารชีวิตตามกฎหมายของไทย
          ประหาร จากนั้นจึงเปิดประตูกลซึ่งอยู่ที่พื้นใต้เท้าของนักโทษออก ให้นักโทษตกลงไป                  แม้ว่าจะมีการบัญญัติบทลงโทษประหารชีวิตในกฎหมายอาญาของไทย

          เชือกที่รัดคออยู่จะทำาให้นักโทษเกิดภาวะขาดออกซิเจน และเสียชีวิตในที่สุด โดยเจ้า      อย่างไรก็ตาม ได้มีการบัญญัติข้อยกเว้นการบังคับโทษประหารชีวิต ให้แก่บุคคล ดังนี้
                                                  ้
                                                                                                                            ่
          หน้าที่จะต้องคำานวณความยาวของเชือกให้สัมพันธ์กับนำาหนักตัวของนักโทษประหาร                       ๑)  ผู้กระทำาผิดที่มีอายุตำากว่า ๑๘ ปี (ในขณะที่กระทำาผิด) ซึ่งไม่ได้คำานึง
          แต่ละราย (สำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๕๗)                             ถึงว่าผู้กระทำาผิดจะถูกจับกุมเมื่อใด หรือศาลมีคำาพิพากษาเมื่อใด (ประมวลกฎหมาย
                                                                                               อาญา มาตรา ๑๘ วรรคสอง)
                     ๕) การยิงเป้า (Firing Squad)

                        การยิงเป้าเป็นการประหารชีวิต โดยการใช้ปืนยิงนักโทษประหารจน                        ๒)  ผู้หญิงที่อยู่ในระหว่างการตั้งครรภ์ ให้รอไว้จนพ้นกำาหนด ๓ ปี นับ
          เสียชีวิต ซึ่งในการประหารชีวิตของไทยก่อนหน้านี้ ได้ใช้วิธีการยิงเป้า โดยมีการยิงเป้า   แต่คลอดบุตร และให้ลดโทษประหารชีวิตลงเหลือจำาคุกตลอดชีวิต เว้นแต่บุตรถึงแก่
          ครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๖  ทั้งนี้ การประหารชีวิตของไทย จะกำาหนดให้มีเพชฌฆาต     ความตายก่อนพ้นกำาหนดเวลาดังกล่าว (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

          ที่ ๑ หรือเรียกว่า เพชฌฆาตมือหนึ่ง ทำาการประหารชีวิต ในหลักที่ ๑ (ด้านขวามือ)        มาตรา ๒๔๗ วรรคสอง)
          กรณีที่มีการประหารชีวิตนักโทษรายเดียวในคราวนั้น  หากมีการประหารชีวิตพร้อมกัน
          สองราย จะกำาหนดให้นักโทษประหารชีวิตรายที่ ๒ อยู่ที่หลักที่ ๒ และให้เพชฌฆาต

          มือสอง ร่วมทำาการประหารชีวิตด้วย ทั้งนี้การยิงเป้าแต่ละครั้งจะใช้กระสุนในการยิง
          ประมาณ ๘-๑๐ นัด โดยยิงเพื่อให้นักโทษสิ้นใจโดยเร็วที่สุด (ยุทธ บางขวาง, ๒๕๕๔)






          38                                     รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต       รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต                     39
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45