Page 38 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 38
๒.๑.๑๐) สถานที่สำาหรับทำาการประหารชีวิตนักโทษ ประกอบด้วย ทั้งนี้ การถ่ายภาพหรือบันทึกให้ปรากฏด้วยแถบเสียง แถบภาพ หรือ
ห้องสำาหรับควบคุมนักโทษก่อนทำาการประหาร ห้องทำาการประหาร ห้องเตรียมตัวของ ด้วยวิธีอื่นที่จะเกิดผลในทำานองเดียวกันต่อนักโทษที่จะถูกประหาร สถานที่ประหารชีวิต
เจ้าพนักงาน รวมถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประหาร ห้องคณะกรรมการกับสักขีพยาน และวิธีการประหารชีวิตนั้นจะกระทำามิได้ เว้นแต่เป็นการดำาเนินการในทางราชการ
และห้องประกอบพิธีทางศาสนา
๒.๓) การดำาเนินการหลังการประหารชีวิต
๒.๒) การดำาเนินการประหารชีวิต
๒.๓.๑) ให้เรือนจำาจัดเก็บศพของนักโทษที่ถูกประหารชีวิตไว้ใน
๒.๒.๑) ให้เรือนจำาจัดเจ้าพนักงานเรือนจำารักษาความปลอดภัย เรือนจำา เป็นเวลาไม่ตำากว่า ๑๒ ชั่วโมง เมื่อล่วงเลยระยะเวลาดังกล่าวแล้วให้แพทย์
่
และระวังเหตุให้อยู่ในความเรียบร้อยตามสมควรแล้วนำานักโทษที่จะทำาการประหารชีวิต ของทางราชการร่วมกับผู้บัญชาการเรือนจำาตรวจสอบโดยทำาบันทึกยืนยันการตายอีก
ไปยังสถานที่ซึ่งได้เตรียมไว้
ครั้งหนึ่ง
๒.๒.๒) นำาตัวนักโทษที่จะทำาการประหารชีวิตให้นอนลงบนเตียงที่
จัดเตรียมไว้เพื่อการประหารชีวิต พร้อมทั้งทำาการพันธนาการป้องกันมิให้นักโทษดิ้นรน ๒.๓.๒) เมื่อนักโทษเสียชีวิตแล้วให้เรือนจำาแจ้งญาติทราบในโอกาส
ขัดขืน แรก หากมีญาติมาขอรับให้มอบศพนั้นไป แต่ถ้าไม่มีญาติมาขอรับก็ให้จัดการเผาหรือ
ฝังตามที่เรือนจำาจะเห็นสมควรต่อไป
๒.๒.๓) ให้เจ้าพนักงานเรือนจำาซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยคำาสั่งของ
ผู้บัญชาการเรือนจำา จัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในการดำาเนินการไว้ให้พร้อม ๒.๓.๓) ให้เรือนจำารายงานผลการดำาเนินการประหารชีวิตพร้อมบันทึก
และทำาการแทงเข็มสำาหรับฉีดยาหรือสารพิษเข้าเส้นเลือดในร่างกายของนักโทษที่จะ ของแพทย์และคณะกรรมการยืนยันผลการตรวจพิสูจน์การตาย และผลการตรวจสอบ
ถูกประหารรอไว้โดยต่อเข้ากับสายท่อหรืออุปกรณ์บรรจุยาหรือสารพิษที่จะปล่อยเข้า ยืนยันภายหลังการตายให้กระทรวงยุติธรรมทราบโดยเร็ว
สู่ร่างกายของนักโทษที่จะถูกประหาร พร้อมทั้งติดตั้งเครื่องตรวจวัดสัญญาณการเต้น ๒) การนั่งเก้าอี้ไฟฟ้า (Electric Chair)
ของหัวใจเข้ากับร่างกายนักโทษที่จะถูกประหารหันจอแสดงให้คณะกรรมการและสักขี การนั่งเก้าอี้ไฟฟ้า เป็นวิธีการประหารชีวิต โดยให้นักโทษนั่งอยู่
พยานได้สังเกตเห็นโดยชัดเจน บนเก้าอี้ที่สร้างขึ้นมาโดยเฉพาะสำาหรับการประหารชีวิต โดยก่อนทำาการประหารชีวิต
๒.๒.๔) เมื่อการดำาเนินการตามข้อ ๒.๒.๓) เสร็จเรียบร้อย และได้ นักโทษจะต้องโกนผมและขนตามร่างกายออกทั้งหมด เพื่อให้กระแสไฟฟ้าเข้าสู่ร่างกาย
รับสัญญาณให้ทำาการประหารชีวิต ให้เจ้าพนักงานเรือนจำาผู้ทำาการฉีดยาหรือสารพิษ ได้โดยง่าย จากนั้นเมื่อมีการเปิดกระแสไฟฟ้า ร่างกายของนักโทษจะกระตุก เกิดอาการ
จัดการปล่อยหรือฉีดยาหรือสารพิษเข้าสู่ร่างกายของนักโทษประหารให้ตายเสีย อาเจียน ปัสสาวะ และอุจจาระ อย่างไรก็ตาม ร่างกายของนักโทษจะมีผ้าคาดรั้งตัวไว้
ต่อหน้าคณะกรรมการและสักขีพยาน ทั้งนี้ ตัวอย่างของการประหารชีวิตในสหรัฐอเมริกานั้น พบว่า
๒.๒.๕) ให้แพทย์ประจำาเรือนจำาที่ทำาการประหารชีวิตนักโทษหรือ การกำาหนดกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการประหารชีวิตจะแตกต่างไปตามระบบของแต่ละรัฐ
้
แพทย์ของทางราชการ ๑ คนร่วมกับคณะกรรมการ ตรวจพิสูจน์การตายของนักโทษ รวมถึงนำาหนักตัวของนักโทษ (Capital Punishment, ๒๐๐๘ อ้างถึงใน สำานักงาน
โดยให้แพทย์และคณะกรรมการทำาบันทึกยืนยันการตายของนักโทษที่ถูกประหารชีวิต คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๕๗)
และประกาศผลการประหารชีวิตให้สักขีพยานทราบในวันนั้น
36 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 37