Page 142 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 142
ความคิด/ความรูสึก/การจัดการเมื่อทราบวาตองโทษประหารชีวิต
้
่ ้
กรณีที่ ๔ เมื่อทราบว่าตนเองได้รับการพิพากษาลงโทษประหารชีวิต เธอมี
ความเครียดมาก โดยต้องใช้ระยะเวลาประมาณ ๑ ปี จึงทำาให้ความ
ขอมูลคดี รู้สึกดีขึ้น การผ่อนคลายความตึงเครียดของเธอ คือ การใช้ชีวิต
้
อยู่กับเพื่อนๆ ในทัณฑสถาน
นักโทษประหารหญิง กรณีที่ ๔ เป็นชาวไทยใหญ่ เป็นนักโทษประหาร
ชีวิตในคดียาเสพติด โดยเป็นนักโทษเด็ดขาด จนกระทั่งปัจจุบัน นับเป็น สำาหรับความคิดต่อโทษประหารชีวิตนั้น เธอคิดว่าไม่น่าจะมีการประหาร
ระยะเวลาประมาณ ๓ ปี ชีวิตจริงๆ
พฤติการณแหงคดี การใชชีวิตในเรือนจำา
้
์ ่
นักโทษประหารหญิง กรณีที่ ๔ ค้าขายเสื้อผ้าที่ตลาดแห่งหนึ่ง ภายหลังได้รับการพิพากษาและต้องจำาคุกในทัณฑสถาน เธอได้
ในจังหวัดเชียงราย วันหนึ่งขณะขายของ เธอได้รับโทรศัพท์จากเพื่อน ดำาเนินการยื่นเรื่องราวทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษ
ว่าได้เดินทางกลับมาเที่ยวที่บ้านแล้วไม่มีเงิน จึงให้เธอนำาเงินมาให้ แต่ปัจจุบันยังไม่ทราบผลของการทูลเกล้าฯ ดังกล่าว
จำานวน ๓,๐๐๐ บาท เธอนำาเงินไปให้และถูกเจ้าหน้าที่ตำารวจจับกุม ในระหว่างการจำาคุกในทัณฑสถาน เธอใช้ชีวิตร่วมกับเพื่อนผู้ต้องขัง
พร้อมกับเพื่อน ในคดียาเสพติด โดยมีของกลางเป็นเมทแอมเฟตามีน เพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด อีกทั้งในแต่ละเดือนน้องชายของเธอ
จำานวน ๑๐,๐๐๐ เม็ด และยาไอซ์ ๑ กิโลกรัม ซึ่งทำางานอยู่ในกรุงเทพมหานครได้เดินทางมาเยี่ยมเธอเดือนละครั้ง
เธอสู้คดีในชั้นศาลโดยปฏิเสธการกระทำาผิดมาตลอด จนกระทั่ง อย่างไรก็ตาม เธอยังคงมีความคิดถึงบุตรสาวอยู่เสมอ
ศาลอุทธรณ์ตัดสินลงโทษประหารชีวิต และไม่สามารถยื่นสู้คดีใน
ชั้นศาลฎีกาได้ หากไดรับการอภัยโทษ และไดรับการปลอยตัวออกจากเรือนจำา
้
้
่
หากเธอได้รับพระราชทานอภัยโทษและได้รับการปล่อยตัวแล้ว
เธอวางแผนชีวิตไว้ว่า เธอจะกลับไปขายเสื้อผ้าประจำาท้องถิ่น
ร่วมกับน้องสาวของเธอที่ประเทศเมียนมาร์
140 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 141