Page 17 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง การประเมินข้อมูลพื้นฐานระดับชาติด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน : นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนของประเทศ
P. 17

กรอบประเด็น     ช่องว่างของกลไก (ประเด็นปัญหา)          กลไกที่ควรจะเป็น                                  ข้อเสนอแนะ

                          ไม่ได้มีการรับฟังความคิดเห็นอย่างรอบด้าน  การดำเนินการตามกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่ หลักสากล

                                                             พิจารณาโดยรัฐบาล คสช.
                          - รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ได้ตัดเอาสิทธิทางด้าน                          - ออกกลไกเสริมให้กระบวนการ EIA มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ได้แก่
                          สิ่งแวดล้อมที่สำคัญออกไป           - กลไกการทบทวนพิจารณากฎหมาย            1. เพิ่มระเบียบเพื่อควบคุมกระบวนการมีส่วนร่วมให้เชิญผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งที่

                                                             ทางด้านสิ่งแวดล้อมที่พิจารณาโดยรัฐบาล
                          - กระบวนการท ำ  EIA ยังมีช่องว่างบาง                                      เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยเข้าร่วม
                                                             คสช.
                          ประการ                                                                    2. เพิ่มระเบียบการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารสู่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับ
                                                             - กลไกการรับรองสิทธิตามรัฐธรรมนูญให้   กระบวนการทำ EIA โดยต้องให้ข้อมูลล่วงหน้า และต้องส่งถึงผู้รับโดยตรง

                                                             มีความครอบคลุมตามหลักสากล
                                                                                                    มิใช่เผยแพร่บนเว็บไซต์เพียงอย่างเดียว
                                                             - กลไกเสริมให้กระบวนการ EIA มี
                                                             ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น                  3. เพิ่มกฎหมายที่ระบุกลไกการติดตามการดำเนินงานตามรายงาน EIA
                                                                                                    รวมถึงกระบวนการติดตามภายหลังและการเยียวยาผลกระทบที่เกิดขึ้น
                                                                                                    ภายหลังที่ชัดเจน


                                                                                                    4. กสม. ควรจะพิจารณาและศึกษาความเหมาะสมที่จะให้ กสม. เข้ามา
                                                                                                    เป็นตัวแทนในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

           การลงทุน       - ธุรกิจที่ออกไปลงทุนต่างประเทศบางส่วน - กลไกตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน - กสม. ควรทำหน้าที่ในการสนับสนุนการติดตามและตรวจสอบการละเมิดสิทธิ
           ระหว่างประเทศ   ยังมีความเสี่ยงที่จะเลือกใช้มาตรฐานด้าน นอกอาณาเขตที่มีความชัดเจนในแง่ของ มนุษยชนนอกอาณาเขต โดยเป็นส่วนกลางในการรับประเด็นปัญหาและดำเนินการ

           และบรรษัทข้าม  สิทธิมนุษยชนของประเทศตน มากกว่า หน่วยงานกลางและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบ
           ชาติ           มาตรฐานสากล (มาตรฐานของประเทศต้น ทั้งหมด
                                                                                             - ก.ล.ต. สนับสนุนกลไกการหนุนเสริมโดยช่วยผลักดันให้มีการเคารพสิทธิมนุษยชน
                          ทาง หรือ มาตรฐานของประเทศที่พัฒนา  - กลไกการตรวจสอบผลกระทบของการ   ตลอดห่วงโซ่อุปทานในบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ และช่วยผลักดันการให้สินเชื่อที่
                          แล้ว)                              ลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ เช่น EEC   ต้องมีการเคารพสิทธิมนุษยชน

                          - กลไกการตรวจสอบการละเมิดข้าม




                                                                                  viii
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22