Page 4 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 4
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
๗๐ ปี ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
วันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๙๑ (๑๙๔๘) ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยสามัญที่ ๓ ณ กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส
ได้มีข้อมติที่ ๒๑๗ A (III) รับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights : UDHR)
ซึ่งเป็นเอกสารส�าคัญที่วางแนวคิดด้านสิทธิมนุษยชนและเป็นพื้นฐานของการจัดท�าสนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชน
ฉบับต่าง ๆ ในกรอบสหประชาชาติในเวลาต่อมา ทั้งนี้ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน ๔๘ ประเทศที่ร่วมรับรองปฏิญญาดังกล่าว
ในโอกาสครบรอบ ๗๐ ปี ของปฏิญญา UDHR (วันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๑) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
(กสม.) ขอน�าเสนอเนื้อหาหลักในปฏิญญา UDHR เพื่อเน้นย�้าการด�าเนินงานของประเทศไทย ๔.๐ ในการสร้าง
“สังคมที่ไม่ทอดทิ้งกัน” โดยข้อบททั้ง ๓๐ ข้อของปฏิญญา UDHR มีดังนี้
ข้อ ๑ ข้อ ๓
มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระ และเสมอภาคกันในศักดิ์ศรี ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิต เสรีภาพ และความมั่นคง
และสิทธิ ต่างในตน มีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติ แห่งบุคคล
ต่อกันด้วยจิตวิญญาณแห่งภราดรภาพ
ข้อ ๔
ข้อ ๒
บุคคลใดจะตกอยู่ในความเป็นทาส หรือสภาวะจ�ายอม
ไม่ได้ ทั้งนี้ ห้ามความเป็นทาส และการค้าทาสทุกรูปแบบ
ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพทั้งปวงตามที่ก�าหนดไว้
ในปฏิญญานี้ โดยปราศจากการแบ่งแยกไม่ว่าชนิดใด อาทิ
เชื้อชาติ ผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง
หรือทางอื่น พื้นเพทางชาติหรือสังคม ทรัพย์สิน การเกิด ข้อ ๕
หรือสถานะอื่น นอกเหนือจากนี้ จะไม่มีการแบ่งแยกใด
บนพื้นฐานของสถานะทางการเมือง ทางกฎหมาย หรือ
ทางการระหว่างประเทศ ของประเทศหรือดินแดนที่บุคคล บุคคลใดจะถูกกระท�าการทรมาน หรือการปฏิบัติหรือ
สังกัด ไม่ว่าดินแดนนี้จะเป็นเอกราช อยู่ในความพิทักษ์ การลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย�่ายีศักดิ์ศรีไม่ได้
มิได้ปกครองตนเอง หรืออยู่ภายใต้การจ�ากัดอธิปไตยอื่นใด
3