Page 189 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 189
ต�ร�งที่ ๑ ต�ร�งสรุปข้อเสนอแนะและหน่วยง�นที่รับผิดชอบ
ข้อเสนอเเนะ หน่วยง�นที่รับผิดชอบ
๔.๒.๑ ข้อเสนอเเนะต่อคณะรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
เชิงนโยบ�ย
• แต่งตั้งคณะท�างานที่ประกอบด้วยตัวแทนจากภาคประชา
สังคมเพื่อศึกษาผลกระทบจากข้อกฎหมายที่มีอยู่เดิมที่
ละเมิดต่อสิทธิมนุษยชน
• ยกร่างการแก้ไขดังกล่าวบรรจุเข้าสู่วาระเพื่อพิจารณา
ปรับปรุงและแก้ไขมาตรการด้านกฎหมายให้มีการค�านึง
ถึงความละเอียดอ่อนต่อการไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนและ
สิทธิอนามัยเจริญพันธ์ุเพื่อก�าหนดเป็นนโยบายรัฐที่สามารถ
น�าไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีความสอดคล้องกับสภาพความ
เป็นจริงของสภาพปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในปัจจุบัน
เชิงปฏิบัติ
• รณรงค์สร้างกระแสการเปลี่ยนแปลงในสังคมและในหมู่
คณะท�างานฝ่ายนิติบัญญัติให้ก้าวข้ามจากกรอบมายาคติ
ที่ยังมองว่าเด็กและเยาวชนเป็นวัยที่ไม่เกี่ยวข้องกับการ
เจริญพันธุ์และการมีเพศสัมพันธ์โดยสร้างความตระหนัก
ว่าเด็กและเยาวชนมีสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์และสิทธิทาง
เพศ เพื่อน�าไปสู่ทัศนคติเชิงบวกในการบัญญัติกฎหมายใน
การบังคับใช้เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชน สิทธิอนามัย
เจริญพันธุ์ของเยาวชน สิทธิให้มีข้อก�าหนดที่รอบด้านและ
ครอบคลุมถึงสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ของเยาวชนมากขึ้น
• บัญญัติข้อห้ามจ�าหน่ายนักเรียนออกจากโรงเรียน ใน
พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติหรือ พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก
(๒๕๔๖) และระวางโทษอย่างชัดเจน
188 // ปัญหำเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน