Page 3 - รายงานการปฏิบัติตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
P. 3

ค ำน ำ



                       ปัจจุบันมีสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนหลัก 9 ฉบับ


               ครอบคลุมสิทธิประเภทต่างๆ ทั้งสิทธิพลเมือง สิทธิการเมือง สิทธิเศรษฐกิจ สังคม


               และวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังมีสนธิสัญญาที่กล่าวถึงการคุ้มครองสิทธิของบุคคล

               บางกลุ่มที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการถูกละเมิดสิทธิด้วย เช่น เด็ก สตรี และคนพิการ


               เป็นต้น ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาหลักทั้งสิ้นจ านวน 7 ฉบับ ซึ่งหนึ่ง

               ในสนธิสัญญาที่ไทยเข้าเป็นภาคีแล้ว ได้แก่ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทาง


               เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social


               and Cultural Rights - ICESCR) โดยไทยได้เข้าเป็นภาคีเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2542

               และกติกาฯ มีผลใช้บังคับกับประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 5 ธันวาคม 2542 เป็นต้นมา


               หลังจากที่ไทยเข้าเป็นภาคีกติกาดังกล่าวแล้ว ไทยจะต้องด าเนินการตาม

               บทบัญญัติของกติกา และต้องรายงานผลการด าเนินการเป็นระยะๆ ต่อ


               คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญประจ ากติกาที่ได้รับการเลือกตั้งจากรัฐภาคี ซึ่งคณะ


               กรรมประจ ากติกาฯ ได้พิจารณารายงานของประเทศไทยแล้ว เมื่อวันที่ 4-5

               มิถุนายน 2558 ที่ส านักงานสหประชาชาติ นครเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์



                       แม้หน้าที่ในการจัดท ารายงานการปฏิบัติตามกติกาฯ จะเป็นหน้าที่หลักของ


               รัฐบาล แต่คณะกรรมการประจ ากติกาฯ ได้เปิดรับข้อมูลจากสถาบันสิทธิ


               มนุษยชนแห่งชาติและองค์กรภาคประชาสังคมในประเทศนั้นๆ ด้วย ดังนั้น

               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) จึงได้จัดท ารายงานการปฏิบัติตาม


               กติกาฯ ส่งให้สหประชาชาติพิจารณาควบคู่ไปกับรายงานฉบับของรัฐบาลไทย

               เพื่อให้คณะกรรมการประจ ากติกาฯ ใช้ประกอบการพิจารณารายงานที่จัดท าโดย


               รัฐบาลในการประชุมคณะกรรมการฯ ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 4-5 มิถุนายน 2558


               โดยที่รายงานของรัฐบาลถือเป็นรายงานหลักที่คณะกรรมการประจ ากติกาฯ
   1   2   3   4   5   6   7   8