Page 291 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยและรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2557
P. 291
290 รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และรายงานผลการปฏิบัติงานประจำาปี ๒๕๕๗
๓) การจัดตั้งหอจดหมายเหตุสิทธิมนุษยชน
ในระยะแรกของการดำาเนินงานด้านหอจดหมายเหตุ สำานักงาน กสม. ได้ดำาเนินงาน
โครงการจัดทำาสื่อวีดีทัศน์และสื่อประชาสัมพันธ์ประวัติจากคำาบอกเล่า (Oral History) ของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๑ ขณะนี้อยู่ระหว่างดำาเนินการ คาดว่าจะแล้วเสร็จ ปี ๒๕๕๘
๔) การให้บริการ
การให้บริการของห้องสมุด ระหว่างเดือนมกราคม – ธันวาคม ๒๕๕๗
(๑) สถิติผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด
F มีผู้เข้าใช้บริการรวมทั้งสิ้น ๑,๘๙๖ คน
F ผู้มาใช้บริการประเภทเจ้าหน้าที่ สำานักงาน กสม. เข้ามาใช้บริการห้องสมุด
มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๗๔ (๑,๔๐๗ คน) รองลงมาคือ ประเภทบุคคล
ทั่วไป คิดเป็นร้อยละ ๑๔ (๒๕๖ คน)
F ห้องสมุด มีผู้เข้าใช้บริการ เฉลี่ย ๘ คน/วัน
(๒) สถิติการยืมทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
F มีการยืมทรัพยากรสารสนเทศ จำานวน ๓,๔๗๓ รายการ
F ทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนังสือ มีการยืมมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๖๓
(๒,๑๘๖ รายการ) รองลงมา คือ ประเภทวารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์
คิดเป็นร้อยละ ๑๙ (๖๗๑ รายการ)
F ผู้ใช้บริการประเภทเจ้าหน้าที่ สำานักงาน กสม. มีการยืมทรัพยากรสารสนเทศ
มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๘๑ (๒,๗๘๖ ครั้ง) รองลงมา คือ ประเภท
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และผู้บริหารสำานักงาน กสม.
คิดเป็นร้อยละ ๑๑ (๓๘๙ ครั้ง)
(๓) สถิติบริการตอบคำาถามและช่วยการค้นคว้า
F บริการตอบคำาถามทั่วไป (General Service) จำานวน ๕๐๗ ครั้ง
F บริการช่วยการค้นคว้า (Information Retrieval) จำานวน ๒๐ ครั้ง
F บริการสืบค้นสารสนเทศ (Reference Service) จำานวน ๕๙ ครั้ง
(๔) สถิติผู้เข้าเยี่ยมชมห้องสมุด จำานวน ๖ คณะ รวม ๙๘ คน
F เจ้าหน้าที่จากสำานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ จำานวน ๑๗ คน
F Raoul Wallenberg Institute of Human Rights and Humanitarian
Law (RWI)’s Alumni จำานวน ๒ คน
F Raoul Wallenberg Institute of Human Rights and Humanitarian
Law จำานวน ๒ คน
F เจ้าหน้าที่จากสำานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง จำานวน ๒ คน