Page 144 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 144
กระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิของ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
กสม. ส่งเรื่องให้องค์กรอื่นที่มีอำานาจหน้าที่
รับเรื่องร้องเรียน หยิบยกขึ้นพิจารณา หากองค์กรนั้นไปดำาเนินการหรือไม่รับเรื่อง
กสม.อาจรับเรื่องกลับมาพิจารณา หากเรื่องนั้น
อยู่ในอำานาจหน้าที่ของ กสม. และแจ้งให้ผู้ร้องทราบ
กสม. ไม่อยู่ในอำานาจหน้าที่ / ไม่รับไว้พิจารณา
พิจารณาเบื้องต้น แจ้งผู้ร้องและอาจแจ้งบุคคล / หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไข
มีข้อมูลและอยู่ในอำานาจหน้าที่
ดำาเนินการไกล่เกลี่ย ในกรณีที่เห็นว่า
ไกล่เกลี่ยได้และทำาบันทึกข้อตกลง
ระหว่างคู่กรณี คณะอนุกรรมการ / สำานักงาน กสม.
ดำาเนินการตรวจสอบ
ตามที่ กสม.มอบหมาย
ถ้าไม่เป็นไปตามข้อตกลง
นำากลับมาดำาเนินการตรวจสอบ กสม.มีมติ
มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน
กสม. จะทำารายงานและเสนอมาตรการ ไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน
การแก้ไขปัญหาให้หน่วยงานหรือ แต่เป็นการกระทำาที่ไม่เป็นธรรม ยุติเรื่อง / ยุติการตรวจสอบ
บุคคลที่มีหน้าที่นำาไปปฏิบัติภายใน กสม. อาจกำาหนดแนวทางแก้ไข
ระยะเวลาที่กำาหนดและอาจมีการเสนอ และแจ้งให้บุคคลหรือหน่วยงาน
ข้อเสนอแนะนโยบาย ปรับปรุงกฎหมาย ที่มีอำานาจหน้าที่ดำาเนินการ
ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แจ้งผู้ร้อง
แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ติดตามผลการแก้ไข เมื่อครบกำาหนดเวลา
รายงานต่อนายกรัฐมนตรี เพื่อสั่งการภายใน ๖๐ วัน รายงานต่อรัฐสภาเพื่อดำาเนินการ
หากบุคคล / หน่วยงาน ไม่ดำาเนินการตามมาตรการ หากนายกรัฐมนตรีไม่สั่งการ
การแก้ไข ภายในกำาหนดระยะเวลา
142