Page 220 - รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
P. 220
คำ�ตัดสินลงโทษประห�รชีวิตที่มีก�รร�ยง�น ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕
จีน + ปากีสถาน ๒๔๒ ซูดาน ๑๙๙ + แอลจีเรีย ๑๕๓ + ไทย ๑๐๖ + อียิปต์ ๙๑ +
เวียดนาม ๘๖ + อิรัก ๘๑ + กานา ๒๗ เคนยา ๒๑ + สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ๒๑ + พม่า ๑๗ +
จอร์แดน ๑๖ + อินโดนีเซีย ๑๒ + สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ๑๑ + เยเมน ๗ + แซมเบีย ๗ +
ไต้หวัน ๗ มอริเตเนีย ๖ + ปาเลสไตน์ ๖ + (๕ + เขตยึดครองของปาเลสไตน์บริเวณฉนวนกาซา
ที่อยู่ใต้การปกครองของกลุ่มฮามัส ; ๑ เวสต์แบงก์) กินี ๒ + มัลดีฟส์ ๒ + สิงคโปร์ ๒ + บาร์เบโดส ๒
ชาด ๒ เกาหลีใต้ ๒ กาตาร์ ๑ + บาห์เรน ๑ อิหร่าน ๗๙ + อินเดีย ๗๘ + สหรัฐอเมริกา ๗๗
โซมาเลีย ๗๖ (๕๑ โดยคณะรัฐบาลชั่วคราว ; ๗ ในพันต์แลนด์ ; ๑๘ ในโซมาลีแลนด์) มาเลเซีย ๖๐ +
ไนจีเรีย ๕๖ บังคลาเทศ ๔๕ + ซิมบับเว ๑๑ + มาลี ๑๐ + ซาอุดิอาระเบีย ๑๐ + คูเวต ๙ +
เลบานอน ๙ + ตูนิเซีย ๙ โมร็อกโก / เวสเทิร์นสะฮารา ๗ + ศรีลังกา ๗ + แกมเบีย ๕ + ลิเบีย ๕ +
ตรินิแดด และโตเบโก ๕ + บอตสวานา ๕ กายอานา ๕ ไลบีเรีย ๔ + ญี่ปุ่น ๓ แทนซาเนีย ๓
อิเควทอเรียล กินี ๑ สวาซิแลนด์ ๑ อัฟกานิสถาน + ลาว + มองโกเลีย + เกาหลีเหนือ + ซูดานใต้
ก�รให้สัตย�บันรับรองสนธิสัญญ�ระหว่�งประเทศ จนถึงวันที่ ๓๑ ธันว�คม
๒๕๕๕
ประชาคมประเทศต่าง ๆ ได้รับรองสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ๔ ฉบับ ที่กำาหนดให้ยกเลิก
โทษประหารชีวิต สนธิสัญญาหนึ่งฉบับครอบคลุมระดับโลก ส่วนอีกสามฉบับครอบคลุมระดับ
ภูมิภาค
ทั้งนี้ สนธิสัญญาทั้ง ๔ ฉบับและรายชื่อรัฐภาคีและประเทศที่ลงนามแต่ยังไม่ให้สัตยาบัน
จนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ (รัฐสามารถเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้วยการ
ให้ภาคยานุวัติหรือการให้สัตยาบัน การลงนามเป็นการแสดงความจำานงที่จะเข้าเป็นภาคีในโอกาส
ต่อมาโดยการให้สัตยาบัน รัฐต่าง ๆ มีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศ โดยต้องเคารพ
ข้อบัญญัติในสนธิสัญญาที่ได้เข้าเป็นภาคี และต้องไม่กระทำาการอันขัดต่อวัตถุประสงค์และ
เป้าประสงค์ของสนธิสัญญาที่ได้ลงนามไว้) มีรายละเอียด ดังนี้
พิธีส�รเลือกรับฉบับที่ ๒ ของกติก�ระหว่�งประเทศว่�ด้วยสิทธิพลเมือง
และสิทธิท�งก�รเมือง
พิธีสารเลือกรับฉบับที่ ๒ ของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ
ทางการเมืองมุ่งให้เกิดการยกเลิกโทษประหาร และได้รับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาใหญ่
แห่งสหประชาชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ มีผลบังคับใช้ระดับโลก เป็นกฎบัตรที่กำาหนดให้มีการยกเลิก
โทษประหารอย่างสิ้นเชิง แต่อนุญาตให้รัฐภาคีสามารถใช้โทษประหารชีวิตได้ในภาวะสงคราม
หรือกรณีที่มีการประกาศข้อสงวนไว้ในช่วงที่ให้สัตยาบันหรือให้ภาคยานุวัติต่อพิธีสาร รัฐใด ๆ
ที่เป็นภาคีของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองสามารถเข้าเป็น
โทษประหารชีวิตในประเทศไทย 207