Page 219 - รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
P. 219

ภ

















                                               าคผนวก















                  คำ�ตัดสินลงโทษประห�รชีวิตและก�รประห�รชีวิต พ.ศ. ๒๕๕๕



                           แอมเนสตี้  อินเตอร์เนชั่นแนล  ได้รายงานถึงการใช้โทษประหารชีวิต

                  ผ่านกระบวนการศาล โดยตัวเลขที่แสดงถึงคำาตัดสินลงโทษประหารชีวิตและการประหาร
                  ชีวิต  ในปี  พ.ศ.  ๒๕๕๕  แท้จริงในบางประเทศอาจสูงกว่านี้มาก  เนื่องจากรัฐบางแห่ง

                  อาจจงใจปกปิดขั้นตอนปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้โทษประหารชีวิต  ในขณะที่รัฐอื่น  ๆ  ไม่ได้
                  เก็บข้อมูลหรือไม่ยอมเผยแพร่ตัวเลขคำาตัดสินลงโทษประหารชีวิตและการประหารชีวิต

                           เครื่องหมาย “+” ที่ตามหลังชื่อประเทศ หมายถึง ตัวเลขขั้นต่ำาที่แอมเนสตี้
                  อินเตอร์เนชั่นแนลประเมิน  ส่วนเครื่องหมาย  “+”  ที่อยู่หลังประเทศและไม่มีตัวเลข

                  อยู่ด้านหน้า  อย่างเช่น  คำาตัดสินลงโทษประหารในอัฟกานิสถาน  (+)  แสดงว่า
                  มีการประหารชีวิตหรือการลงโทษประหารชีวิต (อย่างน้อยมากกว่าหนึ่งครั้งในประเทศนั้น)

                  สำาหรับการคำานวณตัวเลขรวมในระดับโลกและภูมิภาค เครื่องหมาย “+” ให้นับเป็น ๒



                           ก�รประห�รชีวิตที่มีก�รร�ยง�น ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕
                           จีน + อิหร่าน ๓๑๔ + อิรัก ๑๒๙ + ซาอุดิอาระเบีย ๗๙ + สหรัฐอเมริกา ๔๓

                  เยเมน ๒๘ + ซูดาน ๑๙ + อัฟกานิสถาน ๑๔ แกมเบีย ๙ ญี่ปุ่น ๗ เกาหลีเหนือ ๖ +
                  โซมาเลีย ๖ + (๕ + โดยคณะรัฐบาลชั่วคราวและ ๑ + ในพันต์แลนด์) ปาเลสไตน์ ๖

                  (เขตยึดครองของปาเลสไตน์บริเวณฉนวนกาซาที่อยู่ภายใต้การปกครองของกลุ่มฮามัส)
                  ไต้หวัน ๖ ซูดานใต้ ๕ + เบลารุส ๓ + บอตสวานา ๒ บังคลาเทศ ๑ อินเดีย ๑

                  ปากีสถาน ๑ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ๑











       206     คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224