Page 6 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 6
แม้ว่าโครงการนี้จะส าเร็จเนิ่นช้ากว่าก าหนดมากอันเนื่องมาจากอุปสรรคหลายประการ แต่ด้วยความ
ช่วยเหลือและก าลังใจของบุคคลหลายฝ่าย ท าให้ตัวชี้วัดชุดนี้ส าเร็จด้วยดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศาสตราจารย์
อมรา พงศาพิชญ์ ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผู้ริเริ่มโครงการที่ให้ค าแนะน าทางวิชาการในฐานะ
ที่มีประสบการณ์ด้านตัวชี้วัดมาก่อน คุณขรรค์ชัย คงเสน่ห์ รองเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ที่ได้ให้ค าแนะน าและกระตุ้นให้เกิดก าลังใจตลอดมา นอกจากนั้นคณะผู้ศึกษาต้องขอขอบคุณคุณณิรมณ เชื้อไทย
เจ้าหน้าที่ส านักวิจัยและวิชาการ และคุณสันติ ลาตีฟี เจ้าหน้าที่ส านักสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ส านักงาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ที่ได้ให้ความช่วยเหลืออย่างดียิ่งตลอดระยะเวลาด าเนินการศึกษา
คณะผู้ศึกษาขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย์วิทิต มันตาภรณ์ ที่ได้กรุณาให้ค าแนะน าเบื้องต้นที่มีค่า
และ ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิสามท่านคือ นายสรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์ รองศาสตราจารย์ ดร.สมคิด
พรมจุ้ย และ ดร.จาตุรงค์ บุญรัตนสุนทร ที่ได้กรุณาอ่านวิจารณ์และให้ค าแนะน าอันมีประโยชน์ในการพัฒนา
ตัวชี้วัดให้สมบูรณ์ขึ้น
นอกจากนั้น การศึกษาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนตามโครงการนี้ ส าเร็จลงได้ก็จากความช่วยเหลือจาก
บุคคลหลายฝ่าย หลายองค์กร ทั้งจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคนักวิชาการ ที่ได้ให้ข้อมูล ให้ค าแนะน า
ตลอดจนให้ก าลังใจ ที่คณะผู้ศึกษาไม่อาจจะกล่าวขอบคุณได้หมด ณ ที่นี้
แน่นอนว่างานชิ้นนี้ย่อมมีข้อผิดพลาดบ้างไม่มากก็น้อย คณะผู้ศึกษาขอน้อมรับฟังค าแนะน าจากผู้รู้
ด้วยความยินดีเพื่อที่จะได้พัฒนาให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
คณะผู้ศึกษาเชื่อมั่นว่า ชุดตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ สามารถใช้
เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบการด าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลตามที่ประเทศไทยมีพันธกรณี
ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ ตลอดจนรายงานประจ าปีเพื่อประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของ
กสม. ที่มุ่งไปสู่การยกระดับการพัฒนาด้านสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่องได้
คณะผู้ศึกษา
พฤษภาคม 2556