Page 71 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 71

ั
                                                                    ั่
                                 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
                                                                         ั
                   ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 2 แนวทาง คือ 1) ให้แก้ไขปญหาความเดือดร้อน เช่น ให้เพิกถอนเอกสาร
                   สิทธิ์ที่ออกมาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือให้ชุมชนได้อาศัยอยู่ในพื้นที่เดิมต่อไปโดยมีมาตรก ากับดูแลเฉพาะพื้นที่
                   26 กรณี 2) ให้ยุติการตรวจสอบตามมาตรา 22 2 กรณี 3) ยุติการตรวจสอบจากเหตุผลอื่นๆ 11 กรณี
                                 การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่า ไม่มีการสนองตอบหรือไม่สามารถแก้ไขได้เลย 1 กรณี มี
                                                         ั
                                        ั
                   การตรวจสอบและบรรเทาปญหา 15 กรณี แก้ไขปญหาได้ดี 3 กรณีและไม่สามารถติดตามผลได้ 21 กรณี

                                 นโยบายความขัดแย้งทรัพยากรทางทะเล และอื่นๆ การใช้เครื่องมือท าลายล้างที่มีผลกระทบ
                                                             ั
                   ต่อประมงพื้นบ้าน และระบบนิเวศ ส่วนกรณีสึนามิ มีปญหาในเรื่องของการไม่ได้รับความเป็นธรรมในการรับความ
                   ช่วยเหลือจากหน่วยงานรัฐ
                                       ผู้ถูกร้อง ได้แก่ คณะรัฐมนตรี จังหวัด รัฐบาล จังหวัด เทศบาลเมือง กรมอุทยาน
                                                    ่
                                         แห่งชาติ สัตว์ปา และพันธุ์พืช จังหวัด
                                       หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะรัฐมนตรี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จังหวัด กรม
                                                               ั่
                                         ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง รัฐบาล กรมประมง ส านักงานต ารวจแห่งชาติ ส านักงาน
                                                                                                   ่
                                                             ั่
                                         อัยการสูงสุด จังหวัดชายฝงทะเล เทศบาลเมือง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา และพันธุ์
                                         พืช
                                                             ั
                                     สามารถจ าแนกเป็นประเด็นปญหาหลัก ๆ ได้อย่างน้อย 2 ประเด็น คือ 1) ผลกระทบต่อ
                   ทรัพยากรประมง 3 กรณี 2) ความเดือดร้อนจากสึนามิ 1 กรณี
                                                                                                        ั
                                                                    ั่
                                 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ได้เสนอมาตรการแก้ไขปญหา
                                                                           ั
                   ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเอาไว้ทั้งหมด 2  แนวทาง คือ 1) ให้แก้ไขปญหาความเดือดร้อน ได้แก่ให้หน่วยงานที่
                                         ั
                   รับผิดชอบด าเนินการแก้ไขปญหา 3 กรณี 2) ให้ยุติการตรวจสอบจากเหตุผลอื่น ๆ 1 กรณี
                                                                                       ั
                                 การติดตามผลการคุ้มครองสิทธิ พบว่ามีการตรวจสอบและบรรเทาปญหา 2  กรณี มีการแก้ไข
                     ั
                   ปญหาอย่างดี 1  กรณี และไม่สามารถติดตามผลได้ 1  กรณี โดยมีข้อเสนอเชิงนโยบายให้หน่วยงานหรือรัฐบาล
                                                                                      ั่
                   ประกาศยกเลิกการใช้เครื่องมือท าลายล้างทรัพยากร เช่น เรืออวนลาก เรืออวนรุน เรือปนไฟปลากะตัก























                                                              56
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76