Page 7 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 7
บทสรุปส าหรับผู้บริหาร
การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของ
คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม
ใน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2544 -2550)
1. กรณีการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในทรัพยากรน ้า ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม
ั่
นับแต่ปี 2544 จนถึงเมษายน 2551 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และ
ั
สิ่งแวดล้อม ได้ด าเนินการพิจารณาการละเมิดสิทธิและได้มีความเห็นและมติก าหนดมาตรการการแก้ไขปญหา
1
ในกรณีต่างๆ รวมทั้งสิ้น 247 กรณี โดยสามารถจ าแนกออกตามฐานทรัพยากรเป็น กรณีน ้า 65 กรณี กรณี
ั่
ชายฝงทะเล 64 กรณีแร่ (และทรัพยากรธรณีอื่นๆ) 62 กรณี และ กรณีพลังงาน อุตสาหกรรม และสิ่งแวดล้อม
56 กรณี
โดยการตรวจสอบกรณีร้องเรียนดังกล่าวของคณะอนุกรรมการถือได้ว่า เป็นการด าเนินการ
ตรวจสอบเชิงรุกในสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับฐานทรัพยากรอย่างเป็นทางการ เป็นครั้งแรกของประเทศไทย
เนื่องจากเป็นวาระแรกของการมีองค์กรอิสระ ดังเช่น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งในการ
ตรวจสอบกรณีร้องเรียนต่างๆ คณะอนุกรรมการได้มีการจัดท ารายงานในแต่ละกรณีเพื่อมีความเห็นและเสนอ
ั
มาตรการการแก้ไขปญหาเกี่ยวกับกรณีต่างๆ ไว้ในรายงาน รายงานดังกล่าวเป็นเสมือนการบันทึกกรณีการ
ั
ละเมิดสิทธิมนุษยชนส่วนหนึ่งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และยังได้มีแนวทางการแก้ไขปญหาเสนอไว้อีกด้วย
2. พื้นที่จังหวัดและกลุ่มปัญหาในแต่ละประเด็นฐานทรัพยากร
จากการส ารวจพื้นที่ที่มีกรณีร้องเรียนทั้งหมด พบว่าจังหวัดภูเก็ตเป็นพื้นที่ที่มีการร้องเรียนนับเป็น
ั่
รายกรณีมากที่สุดคือ 21 กรณี แยกเป็นประเด็นเกี่ยวกับชายฝงทะเล 18 กรณี และประเด็นอื่นๆเพียง 3 กรณี
ั่
ส่วนใหญ่แล้วเป็นการร้องเรียนในเรื่องการพัฒนาโครงการที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรชายฝงทะเล และข้อ
ั่
พิพาทในเรื่องที่ดินชายฝงทะเลที่เกี่ยวเนื่องหลังจากเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิ เช่นเดียวกับจังหวัดพังงาที่
มีเรื่องร้องเรียนในอันดับรองลงมา คือ 18 กรณี โดยมีสัดส่วนการร้องเรียนตามฐานทรัพยากรคล้ายคลึงกัน
พื้นที่จังหวัดสงขลา เชียงใหม่ นครศรีธรรมราช ประจวบคีรีขันธ์ เป็นจังหวัดที่มีกรณีร้องเรียน
มากกว่า 10 กรณี โดยมีประเด็นแยกตามฐานทรัพยากรกระจายออกไป โดยในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่มี
ข้อสังเกตว่ามีกรณีร้องเรียนเรื่องน ้ามากถึง 8 กรณีจาก 12 กรณี และพื้นที่จังหวัดล าปาง ขอนแก่น และ
พิษณุโลก มีกรณีร้องเรียนจังหวัดละ 5 กรณี โดยมีประเด็นแยกตามฐานทรัพยากรกระจายออกไป
เมื่อพิจารณาตามพื้นที่เป็นรายจังหวัดแล้วพบว่าส่วนใหญ่จะมีกรณีร้องเรียนจังหวัดละ 1-3 กรณี ซึ่ง
มีกรณีร้องเรียน 3 กรณีรวม 13 จังหวัด กรณีร้องเรียน 2 กรณี 11 จังหวัด และ ร้องเรียนเพียง 1 กรณี ถึง 19
จังหวัด
ั่
สรุปพื้นที่รายจังหวัดที่มีกรณีร้องเรียนในประเด็นฐานทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม
กระจายอยู่ในพื้นที่ 60 จังหวัด
1
ตามข้อเสนอของการศึกษาในครั้งนี้มีรายงานการตรวจสอบ 244 กรณี แต่จากการรวบรวมรายงานแล้วพบว่ามีรายงานจริง 247
กรณี