Page 181 - คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามหลักสิทธิมนุษยชน
P. 181

สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ




                             ข้อความที่เกี่ยวกับประเด็นหรือเหตุแวดล้อมกรณี
            มีอย่างไรบ้าง ก็ควรถามจดไปให้ครบถ้วนเพื่อประกอบการพิจารณา

            เหตุนั้นๆ
                             (๔)  พนักงานสอบสวนต้องยำ้าความรู้เห็นของพยาน
            และเจ้าทุกข์ให้นำาข้อความรู้จริงมากล่าว  พยายามอย่าให้พยานเอาความ

            เข้าใจของตนหรือเพียงแต่ได้ยินได้ฟังมาเป็นความรู้เห็นเสียเอง ซึ่งอาจทำาให้
            การสอบสวนผิดข้อเท็จจริงไปโดยไม่ตั้งใจ

                             (๕)  ต้องจดตรงกับที่พยานให้ถ้อยคำา คำาใดไม่เข้าใจ
            ให้หมายเหตุในวงเล็บเป็นความเข้าใจของพนักงานสอบสวนไว้ต่อท้าย
            ถ้อยคำาตามประเพณีนิยมในท้องถิ่นของพยานนั้นๆ ไม่ควรฝืนใจให้ผู้ให้
            ถ้อยคำาให้การผิดแผกจากธรรมเนียมประเพณีแห่งท้องถิ่น เพราะการฝืน

            อาจทำาให้ผู้ให้การงงงวยไม่เข้าใจแจ่มแจ้ง
                             (๖)   พนักงานสอบสวนพึงระมัดระวังเรื่องเวลา

            ให้ดีด้วย เพราะบางท้องที่และบางฤดูนั้น เวลานาฬิกาถึง ๑๙.๐๐ น.
            (๑ ทุ่ม) แล้ว แต่แสงสว่างยังเห็นได้ชัดเจนเพราะเกี่ยวแก่ฤดูหรือเพราะ
            ไม่มีสิ่งกำาบังหรือเพราะแสงดวงดาวในท้องฟ้า เป็นต้น
                             (๗)  การสอบสวนให้ใช้ภาษาไทย ถ้ามีการจำาเป็น

            ต้องแปลภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศ หรือภาษาต่างประเทศเป็น
            ภาษาไทย ก็ให้ล่ามแปล และในบันทึกคำาให้การนั้นต้องปรากฏว่าได้ให้ล่าม
            แปลไว้ด้วย

                             เมื่อมีล่ามแปลคำาให้การ คำาพยานหรือคำาอื่นๆ
            ล่ามต้องแปลให้ถูกต้อง ผู้สอบสวนต้องให้ล่ามสาบานหรือปฏิญาณตนว่า
            จะทำาหน้าที่โดยสุจริต จะไม่เพิ่มเติมหรือตัดทอนสิ่งที่แปล เมื่อแปลเสร็จแล้ว

            ให้ล่ามลงลายมือชื่อในถ้อยคำาหรือเอกสารนั้น





                                         157
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186