Page 71 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 71

๗.  กำรสอนเพศศึกษำบนพื้นฐำนของลักษณะนิสัยที่ดีจะควบคู่ไปกับกำรสอนกฎเกณฑ์ทำงศีลธรรม

                       (สถำบันครอบครัวไทย, ๒๕๕๔)
                       รูปแบบกำรอบรมจะท ำในลักษณะกลุ่มเล็ก โดยแต่ละกลุ่มมีนักเรียนประมำณ ๔๐-๕๐  หรือตำม

               จ ำนวนนักเรียนใน ๑  ห้องเรียน ส ำหรับวิทยำกรประจ ำ ๑  คน  ลักษณะกำรเรียนกำรสอนจะเป็นแบบ

               “นักเรียนเป็นศูนย์กลำง”  คือนักเรียนจะได้รับมอบหมำยให้ท ำกิจกรรม หรือค้นหำค ำตอบ  ภำยใต้กำร

               ด ำเนินกำรอภิปรำย สรุปบทเรียน ให้ค ำตอบของวิทยำกร ตำมเนื้อหำและจุดประสงค์ของโครงกำร

                       นอกจำกนี้โครงกำรอดเปรี้ยวไว้กินหวำนมีควำมคำดหวังให้ผู้เข้ำร่วมโครงกำร ๘๐% มีจิตส ำนึกให้
               หันมำรักนวลสงวนตัวให้ควำมส ำคัญกับกำรรักษำพรหมจรรย์ไว้จนถึงวันแต่งงำน  ตระหนักถึงพิษภัยของ

               กำรมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงำน  หลีกหนีสิ่งยั่วยุทำงเพศ และตัดสินใจจะรักษำพรหมจรรย์ไว้จนถึงวัน

               แต่งงำนและ/หรือเริ่มต้นใหม่อีกครั้งหนึ่ง ในสถำนศึกษำมีกำรตั้งชมรม Purity Club ในโรงเรียนเพื่อเผยแพร่

               ควำมรู้และส่งเสริมค่ำนิยมอดเปรี้ยวไว้กินหวำน และในระดับประชำชนทั่วไป จัดงำน Purity Day ในช่วงวัน

               วำเลนไทน์  เพื่อกระตุ้นควำมคิดของวัยรุ่นและสังคมว่ำวันนี้ควรเป็นวันแห่งควำมรักบริสุทธิ์ ซึ่งโครงกำร
               ดังกล่ำวจะ ประเมินผลพฤติกรรมโดยติดตำมผลร่วมกับโรงเรียนที่จัดกำรอบรมทุก ๑, ๓, ๖ เดือน และ ๑ ป ี

                       เห็นได้ชัดว่ำ ยุทธศำสตร์กระทรวงศึกษำธิกำรไม่ได้เน้นพ.ร.บ. กำรศึกษำแห่งชำติ (ครูไทย,

               ๒๕๕๔) ทั้งๆ ที่มีควำมเชื่อมโยงเกี่ยวข้องโดยตรง งำนวิจัยของกุลวดี เถนว่อง และ คณะ (๒๕๕๑) “ปัจจัย

               ที่มีผลต่อพฤติกรรมกำรมีเพศสัมพันธุ์ก่อนวัยอันควร  และแนวทำงกำรแก้ปัญหำที่ยั่งยืน  :  กรณีศึกษำ
               จังหวัดปทุมธำนี” ซึ่งงำนวิจัยดังกล่ำวมุ่งศึกษำประเด็นเพศสัมพันธ์วัยรุ่นมำกกว่ำกำรละเมิดสิทธิขั้น

               พื้นฐำนและพ.ร.บ. ของโรงเรียน และจำกกำรวิจัยพบว่ำ ในจ ำนวน ๘ โรงเรียนของพื้นที่ มีกำรตั้งครรภ

               ขณะเรียนซึ่งพบ  ๒-๓  คนต อปีในโรงเรียน  ซึ่งกำรแก ปัญหำของโรงเรียนคือ  กำรให้ พักกำรเรียน

               เยำวชนหญิงและเชิญผู้ปกครองมำคุย  หรือ ให้ เยำวชนลำออกจำกกำรศึกษำตำมระเบียบของโรงเรียน
               (กุลวดี  เถนว่อง  และคณะ, ๒๕๕๑) ซึ่งมำตรกำรกำรแก้ปัญหำเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ของโรงเรียน เป็นกำร

               ละเมิดสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ สิทธิมนุษยชน ละเมิดพ.ร.บ.กำรศึกษำแห่งชำติ และอนุสัญญำว่ำด้วยกำรขจัดกำร

               เลือกปฏิบัติต่อสตรีทุกรูปแบบ ข้อ ๑๐ “ก ำหนดว่ำรัฐภำคีจะใช้มำตรกำรที่เหมำะสมทุกอย่ำงเพื่อขจัดกำร

               เลือกปฏิบัติต่อผู้หญิง เพื่อให้หญิงและชำยมีสิทธิในกำรศึกษำอย่ำงเสมอภำคกัน” (จิตติมำ ภำณุเดช และ

               คณะ, ๒๕๕๐)
                       เช่นเดียวกัน มำตรกำรและกำรด ำเนินกำรของกระทรวงศึกษำธิกำร ไม่ได้มุ่งประเด็นคุ้มครองสิทธิ

               มนุษยชน สิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ของเยำวชนหญิง ในกำรได้รับข้อมูลข่ำวสำรและกำรศึกษำ  ตำม

               อนุสัญญำว่ำด้วยกำรขจัดกำรเลือกปฏิบัติต่อสตรีทุกรูปแบบ ข้อ ๑๐ “ก ำหนดว่ำรัฐภำคีจะใช้มำตรกำรที่

               เหมำะสมทุกอย่ำงเพื่อขจัดกำรเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิง เพื่อให้หญิงและชำยมีสิทธิในกำรศึกษำอย่ำงเสมอ
               ภำคกัน” (จิตติมำ ภำณุเดช และคณะ, ๒๕๕๐) และสิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์








                                                                                                       ๗๐
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76