Page 5 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 5

คํานํา




                      คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตระหนักถึงภารกิจที่สําคัญตามเจตนารมณของ
               ประชาชนที่มีภารกิจหลักสามดานประกอบกันกลาวคือ

                      ๑. ตรวจสอบกรณีรองเรียน (หรือหยิบยกขึ้นมาตรวจสอบ) ในการกระทําที่มีการละเมิด
               สิทธิมนุษยชน หรือมีการกระทําที่ไมเปนธรรม เพื่อจัดทํารายงานการตรวจสอบกําหนดมาตรการ

               แกไข และเสนอแนะตอหนวยงานที่เกี่ยวของ
                      ๒. การเสนอแนะการปรับปรุงหรือการตรากฎหมาย และขอเสนอตอนโยบายของรัฐ

               เพื่อพัฒนาการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน
                      ๓. การรณรงคใหทุกสวนในสังคมตระหนักถึงการเคารพและรวมมือกันสรางสรรค

               วัฒนธรรมสิทธิมนุษยชน เพื่อความยั่งยืนตอการเคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษย และสิทธิเสรีภาพ
               ตามรัฐธรรมนูญ และพันธกรณีระหวางประเทศที่ไทยเปนภาคี

                      ในกรณีเรื่องรองเรียนดานสิทธิแรงงาน ซึ่งเปนความขัดแยงระหวางนายจางกับลูกจาง

               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนองคกรอิสระที่สามารถรับเรื่องรองเรียนการละเมิด
               สิทธิหรือการกระทําที่ไมเปนธรรมโดยเอกชนได จึงไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ให
               รับเรื่องรองเรียนเพื่อตรวจสอบขอเท็จจริงใหปรากฏ และไกลเกลี่ยใหมีทางแกไขปญหา โดยไม

               ผลักภาระใหแรงงานและสหภาพแรงงานตองไปใชสิทธิทางศาลเปนดานหลัก เพราะใชเวลา

               หลายปและเงินทุนมาก และผลักดันใหการปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของตอง
               ตระหนักถึงการละเมิดสิทธิแรงงาน

                      คณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ไดรับเรื่องรองเรียนประมาณ ๓๐๐ เรื่อง นอกจากการ
               ตรวจสอบและไกลเกลี่ยแลว ยังไดจัดสัมมนาเกี่ยวกับการรณรงคใหสังคมตระหนักถึงสิทธิ

               แรงงานคือสิทธิมนุษยชนมาอยางตอเนื่อง รวมทั้งการรณรงคเพื่อเสนอแนะการปรับปรุงหรือการ
               ตรากฎหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งในเชิงนโยบายของรัฐบาลและหนวยงานภาครัฐ

                      ดังนั้น ในการจัดพิมพหนังสือเลมนี้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเชื่อมั่นวา
               เปนประโยชนรวมกันตอการผลักดันเชิงนโยบายและกฎหมาย บนพื้นฐานการมีสวนรวมของ

               ขบวนแรงงาน เพื่อนําไปสูการแกไขปญหาการละเมิดสิทธิ และการกระทําที่ไมเปนธรรมจํานวน
               มากและหนักหนวงตอผูใชแรงงานในสถานการณปจจุบัน



                                                     คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                             กันยายน ๒๕๕๐
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10