Page 77 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 77
กรณีการหายตัวของนายวันเฉลิมฯ ได้รับความสนใจ ทราบแล้ว ซึ่งผู้ร้องขอขอบคุณและแจ้งว่าการย้าย
จากองค์กรเอกชนทั้งในประเทศ ระหว่างประเทศ และ ของสามีผู้ร้องในครั้งนี้ช่วยบรรเทาความเดือดร้อน 1
สื่อมวลชน รวมทั้งหน่วยงานในองค์การสหประชาชาติ ของครอบครัวเป็นอย่างมาก
2
กสม. ได้ขอความร่วมมือให้กระทรวงการต่างประเทศ กรณีที่ ๕ ลูกจ้างหญิงตั้งครรภ์ถูกเลิกจ้างในสถานการณ์
พิจารณาให้หน่วยงานในสังกัดด�าเนินการแสวงหา การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 3
ข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือพยานหลักฐานเพื่อท�าความจริง (COVID-19) โดยไม่เป็นธรรมและกระทบต่อเด็กแรกเกิด
ให้ปรากฏและเผยแพร่ให้สาธารณชนรับทราบโดยทั่วกัน ผู้ร้องร่วมกับสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๓ กระทรวงการ (สรส.) ได้เปิดศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์เพื่อแก้ไขปัญหา 4
ต่างประเทศได้แจ้งความคืบหน้าในการด�าเนินการ คนงานที่ได้รับผลกระทบจากการปลดออกและเลิกจ้าง
สรุปได้ว่า กระทรวงการต่างประเทศให้ความส�าคัญ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส 5
กับภารกิจในการคุ้มครองและดูแลคนไทยในต่างประเทศ โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยผู้ประกอบการบางแห่ง
โดยที่ผ่านมาได้ติดตามและให้ความช่วยเหลือนายวันเฉลิมฯ ฉวยโอกาสเลิกจ้างแรงงานหญิงที่ตั้งครรภ์ จ�านวน ๑๐ คน
ตามช่องทางการทูตอย่างเต็มก�าลัง หากมีความคืบหน้าจะแจ้ง และคนพิการอีก ๑ คน โดยที่ลูกจ้างบางคนถูกเลิกจ้าง
ให้ทราบต่อไป ซึ่ง กสม. ได้มีหนังสือแสดงความขอบคุณ โดยไม่ได้รับค่าชดเชยตามกฎหมาย บางรายถูกบังคับ
ที่กระทรวงการต่างประเทศได้ให้ความร่วมมือและ ให้เขียนใบลาออก โดยอ้างว่าบริษัทไม่สามารถด�าเนิน
ให้ความส�าคัญในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ธุรกิจได้และมีความจ�าเป็นต้องลดอัตราก�าลังการผลิต
ในกรณีดังกล่าว ส่งผลให้ต้องเลิกจ้าง ซึ่งลูกจ้างบางคนเป็นแม่เลี้ยงเดี่ยว
และเป็นเสาหลักของครอบครัว เมื่อถูกเลิกจ้างท�าให้
กรณีที่ ๔ ขอความช่วยเหลือให้สามีซึ่งรับราชการต�ารวจ ต้องตกอยู่ในสภาวะตึงเครียดเป็นอย่างมาก เช่น ไม่มีเงิน
ตระเวนชายแดนย้ายมาประจ�าการใกล้บ้านเพื่อช่วย ไปตรวจครรภ์ มีภาระต้องเลี้ยงดูบุตรคนอื่น ๆ และมารดา
ดูแลครอบครัวที่เดือดร้อน ที่แก่ชรา ค่าใช้จ่ายที่จ�าเป็นประจ�าวัน เป็นต้น ประกอบกับ
ผู้ร้องขอความช่วยเหลือในการบรรเทาทุกข์ให้กับ เมื่อถูกเลิกจ้างแล้ว ต้องประสบกับความยากล�าบากในการ
ครอบครัวเพื่อให้สามีซึ่งปฏิบัติงานที่กองร้อยต�ารวจ หางานใหม่ เนื่องจากการมีภาวะตั้งครรภ์ อีกทั้งความตึงเครียด
ตระเวนชายแดน อ�าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ได้ย้าย กดดัน และความกังวลจะส่งผลโดยตรงต่อลูกในครรภ์
มาประจ�าการที่สถานีต�ารวจภูธรในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี ซึ่งไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
เนื่องจากมีเหตุผลและความจ�าเป็นที่ต้องดูแลบิดา มารดา พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ อนุสัญญาว่า ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
และน้องสาวที่ต้องไปพบแพทย์อยู่บ่อยครั้ง ประกอบกับ ด้วยสิทธิการคุ้มครองความเป็นมารดา ฉบับที่ ๑๘๓ และ
ครอบครัวของผู้ร้องมีภาระหนี้สินในการประกอบอาชีพ หลักการชี้แนะ UNGPs ผู้ร้องจึงขอให้ กสม. ด�าเนินการ
และส่งบุตรเรียน โดยเฉพาะการขาดทุนจากการเลี้ยง ตรวจสอบและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการ
โคนมที่เกิดจากโรคระบาด แก้ไขปัญหา รวมถึงการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหาย
ป้องกันผลกระทบที่จะเกิดต่อสถาบันครอบครัวต่อไป
กสม. ได้ประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
โดยส่งเรื่องให้ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติพิจารณา กสม. พิจารณาประเด็นผู้เสียหาย ทั้ง ๕ ราย แล้วเห็นว่า
ด�าเนินการตามหน้าที่และอ�านาจ โดยส�านักงานต�ารวจ เป็นกรณีที่ผู้เสียหายถูกนายจ้างบังคับเลิกจ้างโดย
แห่งชาติแจ้งว่า ได้อนุมัติเป็นกรณีพิเศษเฉพาะราย ไม่เป็นธรรม ไม่จ่ายค่าชดเชยการเลิกจ้าง หรือจ่ายค่าชดเชย
ให้สามีของผู้ร้องย้ายไปปฏิบัติงานในต�าแหน่งผู้บังคับหมู่ การเลิกจ้างไม่เป็นไปตามที่กฎหมายก�าหนด จึงได้ประสาน
กองก�ากับการ ๔ กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการ การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนโดยส่งเรื่องในประเด็นนี้ให้
ต�ารวจตระเวนชายแดน ในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี มีก�าหนด กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเพื่อพิจารณาด�าเนินการ
๑ ปี เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน โดยได้แจ้งให้ผู้ร้อง ตามหน้าที่และอ�านาจ
75