Page 205 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 205
ผลการด�าเนินการ รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ พลัดถิ่นเสนอต่อสภานิติบัญญัติ รัฐบาล และหน่วยงานต่าง ๆ
เครืองาม) สั่งและปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี 1
มีค�าสั่งมอบหมายให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ๑.๒) การจัดกิจกรรมเผยแพร่และส่งเสริมความรู้
ความมั่นคงของมนุษย์เป็นหน่วยงานหลักไปพิจารณา เรื่องสิทธิมนุษยชนของกลุ่มชาติพันธุ์ และการจับเก็บ 2
ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสรุปผลการพิจารณา ข้อมูลกลุ่มคนไทยพลัดถิ่น ภายใต้โครงการส่งเสริม
ให้ส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สิทธิมนุษยชนของกลุ่มชาติพันธุ์ และคนไทยพลัดถิ่น 3
เป็นกิจกรรมต่อเนื่องจากโครงการในข้อ ๑.๑) และได้เพิ่ม
๔.๓.๒ ผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ องค์กรความร่วมมือกับขึ้นมาอีก ๑ แห่ง คือมหาวิทยาลัย
ผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ ได้แก่ ผู้อาศัย ทักษิณ มี ๒ กิจกรรม คือ 4
ในประเทศไทยแต่ไม่มีสัญชาติไทย บางกรณีเป็นบุคคลไร้รัฐ ๑.๒.๑) กิจกรรมรวมญาติชาติพันธุ์ชาวเล ภายใต้
ไร้สัญชาติ แม้ว่าจะอาศัยในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง หัวข้อ “เหลียวหลังแลหน้า ๙ ปี มติ ครม. 5
เป็นเวลานาน ซึ่งในกรณีนี้ไม่รวมแรงงานต่างด้าว ที่เข้ามา ชาวเล” ระหว่างวันที่ ๑ - ๒ ธันวาคม ๒๕๖๑
ในประเทศไทยด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ และมีประเทศ ณ จังหวัดพังงา เพื่อส่งเสริมการพัฒนา
ที่เป็นภูมิล�าเนาชัดเจน ในการส่งเสริมและคุ้มครอง สิทธิต่าง ๆ ของกลุ่มชาวเลอย่างยั่งยืน และ
สิทธิมนุษยชนของผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ รวมทั้ง ติดตามการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี
การป้องกันและแก้ไขปัญหาการที่ผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ เรื่อง การฟื้นฟู
อาจถูกกระท�าด้วยการละเมิดสิทธิมนุษยชน กสม. ชุดที่ ๓ วิถีชีวิตชาวเล มีกิจกรรม เช่น การแสดงออก
ได้จัดให้มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านการพิสูจน์ ทางวัฒนธรรมเพื่อแสดงอัตลักษณ์ของกลุ่ม
และรับรองความเป็นคนไทยพลัดถิ่นกับหน่วยงานต่าง ๆ ชาติพันธุ์ชาวเล การจัดเสวนาสะท้อนปัญหา
รวมทั้งมีกิจกรรมต่อเนื่องจากบันทึกข้อตกลง ดังนี้ ของกลุ่มชาวเล สรุปได้ว่าการด�าเนินงาน
ตามมติคณะรัฐมนตรีที่ผ่านมา ท�าให้เกิด
๑) โครงการภายใต้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ความเข้าใจระหว่างชาวเลและหน่วยงาน
ด้านการพิสูจน์และรับรองความเป็นคนไทยพลัดถิ่น ภาครัฐที่เกี่ยวข้องมากขึ้น น�าไปสู่การแก้ไข
เป็นการจัดท�าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง ปัญหาหลายประการ เช่น การพัฒนาที่อยู่
กสม. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มหาวิทยาลัย อาศัยแบบแปลงรวมในพื้นที่ป่าชายเลน
รังสิต ส�านักงานประสานการพัฒนาสังคมสุขภาวะ มูลนิธิ เป็นต้น อย่างไรก็ดี การด�าเนินงานไม่อาจ
ชุมชนไท ลักษณะกิจกรรมเป็นการส�ารวจและเก็บข้อมูลคนไทย บรรลุเป้าหมายได้ เนื่องจากยังมีข้อติดขัด ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
พลัดถิ่นในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์และจังหวัดอื่นที่มี ด้านนโยบาย ส่งผลให้หน่วยงานภาครัฐ
พื้นที่ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน (เมียนมาและกัมพูชา) ที่เกี่ยวข้องขาดความมั่นใจ ในการด�าเนินงาน
อันน�าไปใช้ประกอบการพิสูจน์และรับรองความเป็นคนไทย แก้ปัญหา และมีข้อเสนอจากการเสวนา
พลัดถิ่น มีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้ ว่าควรที่จะมีการเผยแพร่หลักปฏิบัติตาม
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๓
๑.๑) การสนับสนุนการเก็บข้อมูลคนไทยพลัดถิ่น เพื่อให้มั่นใจว่าหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง
ส�าหรับประกอบการจัดท�าข้อเสนอแนะ ตามโครงการ ในพื้นที่เกิดความเข้าใจและเกิดการปฏิบัติตาม
สนับสนุนนักศึกษาเพื่อปฏิบัติการตามข้อตกลงว่าด้วย ๑.๒.๒) กิจกรรมร่วมกับนักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต
ความร่วมมือด้านการพิสูจน์ และรับรองความเป็นคนไทย กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
พลัดถิ่น ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ ในปี ๒๕๕๙ ส�านักการประสานการพัฒนาสังคมสุขภาวะ
โดย กสม. ชุดที่ ๓ ได้สนับสนุนการเก็บข้อมูลคนไทยพลัดถิ่น และมูลนิธิชุมชนไท เพื่อจัดเก็บข้อมูลของ
ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์แล้วน�ามาประกอบการ กลุ่มคนไทยพลัดถิ่น ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
พัฒนาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และข้อเสนอแนะ ตราด และระนอง โดยการพิสูจน์และรับรอง
ทางกฎหมาย เพื่อคุ้มครองสิทธิสถานะบุคคลแก่คนไทย ความเป็นคนไทยพลัดถิ่นตามกฎหมาย
203