Page 198 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 198
ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางธุรกิจ โดยอาจใช้ข้อมูลจาก กสม. และระบุขั้นตอนที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหา
รวมถึงรายงานการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ ดังกล่าว เช่น การจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอ การพัฒนา
กสม. เคยเสนอต่อคณะรัฐมนตรีและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศักยภาพของเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมาย และการเพิ่ม
เป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณา ประกอบกับข้อมูลอื่น ๆ จาก มาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาการทุจริตของเจ้าหน้าที่
หน่วยงานของรัฐ ภาคประชาสังคม และผู้มีส่วนได้เสียเพื่อ โดยอาจระบุมาตรการส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคธุรกิจ
น�าข้อมูลเหล่านี้ไปวิเคราะห์และจัดท�านโยบาย รวมถึงมี จัดท�ารายงานการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
มาตรการการแก้ไขปัญหาที่รอบด้านและมีประสิทธิภาพ อย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence - HRDD) และ
เปิดเผยต่อสาธารณชน รวมถึงความเสี่ยงและผลกระทบ
(๒) ควรก�าหนดหลักเกณฑ์เบื้องต้นที่องค์กรธุรกิจ ด้านสิทธิมนุษยชน (Human Rights Risk and Impact
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ที่ตั้งอยู่ในดินแดน หรือเขตอ�านาจอธิปไตยของไทยต้อง Assessment) เพื่อให้มีการส่งเสริมความโปร่งใสและ
ปฏิบัติตามหลักการชี้แนะ UNGPs โดยในการริเริ่มหรือ ความรับผิดชอบของบริษัทในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ
พัฒนาโครงการต้องค�านึงถึงประโยชน์สาธารณะ สิทธิ สิทธิมนุษยชนอันเกิดขึ้นจากการด�าเนินกิจกรรมทางธุรกิจ
การมีส่วนร่วมของประชาชนและผลกระทบต่อประชาชน
ในพื้นที่โครงการก่อนตัดสินใจด�าเนินโครงการ และ (๕) ควรระบุหลักประกันที่จะท�าให้รัฐวิสาหกิจ
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
พิจารณาระบุแผนงานในการจัดตั้งกลไกหรือก�าหนด เป็นผู้น�าในการเคารพและส่งเสริมการท�าธุรกิจที่เคารพ
ภารกิจการก�ากับดูแลการลงทุนในต่างประเทศของผู้ลงทุน สิทธิมนุษยชน โดยอาจก�าหนดแผนการบรรจุบทบัญญัติ
สัญชาติไทยให้เคารพต่อหลักการสิทธิมนุษยชน ให้มีกลไกการก�ากับดูแลรัฐวิสาหกิจโดยการค�านึงถึง
หลักการด้านสิทธิมนุษยชนไว้ในกฎหมาย การพัฒนา
(๓) ควรมีการจัดท�ารายงานการประเมินสภาพ การก�ากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ รวมถึงการก�ากับดูแล
แวดล้อม สถานการณ์ส�าคัญด้านธุรกิจ และกรณีการละเมิด ให้รัฐวิสาหกิจด�าเนินการประเมินผลกระทบด้าน
สิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น ทั้งในประเทศและต่างประเทศ สิทธิมนุษยชน และการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย (National Baseline อย่างรอบด้าน ในการด�าเนินการของรัฐวิสาหกิจด้วย
Assessment-NBA) รวมทั้งการศึกษาประเด็นปัญหา
และช่องว่างและการประเมินแนวโน้มสถานการณ์ (๖) ควรระบุถึงการรับประกันให้มีการเคารพสิทธิมนุษยชน
ด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนและปัญหาส�าคัญ ที่เกิดขึ้น ในกิจกรรมทางธุรกิจซึ่งอาจได้รับการสนับสนุนและ
ภายในประเทศ (National Baseline Assessment) ให้ประกันการลงทุน โดยควรระบุให้มีการศึกษา
ในช่วงระยะเวลาที่แผนจะมีผลบังคับใช้ระยะเวลาไม่ต�่ากว่า ความเสี่ยงและผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนในการ
๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) โดยควรมีความเฉพาะเจาะจง จัดท�าบริการสาธารณะดังกล่าวโดยบริษัทเอกชนหรือ
กับบริบทและระบุถึงปัญหาผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน กรณีที่มีการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน
อย่างร้ายแรงของภาคธุรกิจตามความเป็นจริง ซึ่งอย่างน้อย เพื่อจัดท�าโครงการ โครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะ
ควรประกอบด้วยสถานการณ์ที่เป็นปัจจัยเอื้อ อุปสรรค ที่เป็นหน้าที่ของรัฐ โดยรัฐมอบหมายหน้าที่ ให้ภาคเอกชน
และความท้าทายด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ด�าเนินการจัดท�าโครงการดังกล่าวแทนผ่านสัญญา
จ�านวน ๔ มิติ ประกอบไปด้วย มิติด้านเศรษฐกิจ ร่วมลงทุน (Public-Private Partnership) มาตรการและ
มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม และมิติทาง กลไกการก�ากับดูแลเพื่อแก้ไขปัญหาผลกระทบดังกล่าว
ด้านการเมืองการปกครอง อีกทั้งยังควรใช้หลักการประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน
และการเฝ้าระวังด้านสิทธิมนุษยชนอย่างจริงจังในการ
(๔) ควรระบุถึงการน�านโยบายว่าด้วยธุรกิจกับ จัดท�าบริการสาธารณะและสัญญาการร่วมลงทุนนั้นด้วย
สิทธิมนุษยชนของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
เพื่อแก้ไขปัญหาด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนในกรณี (๗) ควรระบุหลักประกันการเคารพสิทธิมนุษยชน
เฉพาะใด ๆ ควรระบุถึงปัญหาอุปสรรคและข้อท้าทาย ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดยระบุให้หน่วยงาน
ในการบังคับใช้กฎหมาย ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน ของรัฐและรัฐวิสาหกิจศึกษาแนวทางในการมีมาตรการ
196