Page 166 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 166
ปีงบประม�ณ เรื่องก�รศึกษ�วิจัย ข้อค้นพบ/ข้อเสนอแนะที่สำ�คัญ
๒๕๕๙ ๓) บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชน • ควรส่งเสริมองค์ความรู้เกี่ยวกับชุดหลักการและ
แห่งชาติในการคุ้มครองการละเมิด มาตรฐานเกี่ยวกับการแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจ
สิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน ต่อสังคม จัดท�าฐานข้อมูลการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ที่กระท�าโดยภาคเอกชน เผยแพร่ผลการตรวจสอบ
และจัดท�าข้อเสนอแนะต่อบริษัท สร้างกลไกร่วมกับ
หน่วยงานก�ากับดูแลเอกชนในไทย ฯลฯ
๔) พันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนของ ประเทศไทยสามารถเสริมสร้างบทบาทด้านสิทธิมนุษยชน
ประชาคมอาเซียน ได้โดยเข้าเป็นภาคีในตราสารสิทธิมนุษยชนระหว่าง
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ประเทศ พิจารณาถอนข้อสงวนในตราสารที่เป็นภาคีแล้ว
เสริมสร้างการอนุวัติการตามพันธกรณี ให้ความช่วยเหลือ
ประเทศสมาชิกในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์
๕) กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและ ในภาพรวมประเทศไทยควรปรับโครงสร้างกฎหมาย
การไม่เลือกปฏิบัติ เฉพาะฉบับต่าง ๆ ที่มีหลักการห้ามเลือกปฏิบัติแล้วรวม
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
เข้ามาอยู่ในกฎหมายกลาง หรือออกกฎหมายกลาง
แต่ไม่ต้องยกเลิกกฎหมายเฉพาะฉบับต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้ว เสนอให้
ปรับปรุงแก้ไขรัฐธรรมนูญในส่วนการเลือกปฏิบัติ โดยวาง
หลักรับรองความเท่าเทียมและห้ามเลือกปฏิบัติ แล้วแยก
การเลือกปฏิบัติเป็นการกระท�าของรัฐและเอกชนฯลฯ
๒๕๖๐ ๑) การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่าง กระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน
รอบด้าน (Human Rights Due Diligence) แม้จะมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการตรวจสอบที่แตกต่างกัน
และการจัดท�าคู่มือประเมินผลด้าน ตามบริบทของธุรกิจ สิ่งส�าคัญที่ควรตระหนักคือ
สิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านของธุรกิจ การสร้างการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน
การโรงแรม ควรท�าอย่างเป็นกระบวนต่อเนื่องเพื่อสร้างความรับผิดชอบ
ของบริษัทและการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายในบริษัท
๒) รายการตรวจสอบ (checklist) ที่เกี่ยวข้อง มีข้อเสนอเกี่ยวกับรายงานตรวจสอบประเด็นที่น่าจะมี
กับธุรกิจการโรงแรม ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนของธุรกิจโรงแรม เช่น
การก่อสร้างโรงแรมใหม่หรือขยายโรงแรมเดิม การใช้
แรงงานข้ามชาติ เป็นต้น
๓) แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน มีข้อเสนอเกี่ยวกับการจัดท�าแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและ
ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนในภาพรวมที่เชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ กสม. พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕ จ�านวน ๒๕ กลยุทธ์ เช่น
การให้ค�าปรึกษาการจัดท�าแผนปฏิบัติการระดับชาติ
ว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน การประมวลข้อสรุป
จากเรื่องร้องเรียนออกเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การตรวจสอบประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนเฉพาะเรื่อง
ที่เกิดจากภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ การสนับสนุนเชิงเทคนิค
และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐ ฯลฯ
164