Page 49 - สรุปผลการดำเนินงานโครงการจัดงานวันสตรีสากล 8 มีนาคม หัวข้อ การประกาศเกียรติยศสตรีนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ประจำปี 2562
P. 49
๓) เครือข่ายสตรีม้งในประเทศไทย
รัศมี ทอศิริชูชัย ผู้แทนเครือข่าย
สตรีม้งในประเทศไทย กล่าวถึงความรู้สึกว่า
ดีใจและภูมิใจในการท�างานและต่อสู้มาอย่าง
เหน็ดเหนื่อยนานกว่า ๑๐ ปี แม้บางครั้ง
จะรู้สึกท้อ แต่การประกาศยกย่องเชิดชูเกียรตินี้
ท�าให้รู้สึกว่ามีคุณค่าและสิ่งที่ท�ามาไม่ได้สูญเปล่า อันจะเป็นก�าลังใจให้ท�างาน
ต่อสู้ต่อไป รวมทั้งแสดงให้เห็นว่า คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตระหนัก
เห็นถึงคุณค่าของผู้หญิงกลุ่มชายขอบ จุดเริ่มต้นของการท�างานเกิดจากปัญหา
โครงสร้างทางสังคม กรณีสตรีม้งที่ออกเรือนแต่งงานแล้ว หากต่อมาเลิกรากัน
สตรีม้งเหล่านี้จะไม่สามารถกลับเข้าสู่ครอบครัวหรือตระกูลแซ่เดิม จึงได้รวมตัว
เป็นเครือข่ายสตรีม้งในประเทศไทย เมื่อปี ๒๕๔๗ เพื่อปรับทุกข์ร่วมกัน
จากปัญหาเชิงโครงสร้างดังกล่าว จนกระทั่งเมื่อปี ๒๕๕๕ – ๒๕๖๐ ได้เริ่ม
ทบทวนสิ่งที่ท�ามาตลอดสิบปีที่ผ่านมา และได้ปรับเปลี่ยนวิธีคิดใหม่ คือ
การท�าวิจัยของตนเอง ผ่านการใช้กระบวนการสันติวิธีชักชวนผู้อาวุโสภายในชุมชน
หรือผู้น�าศาสนาเข้ามามีส่วนร่วม ท�าให้ได้ค้นพบกุญแจไขปริศนาวัฒนธรรม
ที่ส�าคัญมาก คือ การรับลูกสาวกลับบ้านโดยพิธีผู่ ซึ่งผู้น�าชุมชนหรือผู้อาวุโส
หลายคนยินดีที่จะร่วมกระท�า ด้วยเพราะความเป็นพ่อซึ่งจะเป็นทุกข์อย่างมาก
เมื่อลูกเกิดความทุกข์ และมีผู้หญิงส่วนหนึ่งได้ให้การสนับสนุนด้วย ขณะที่
๔๘ การประกาศเกียรติยศผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ประจ�าปี ๒๕๖๒
01-96_ok.indd 48 29/8/2562 14:05:29