Page 55 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 55
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
การด�าเนินงานของโรงเรียน เงินและทรัพย์สินที่มีผู้บริจาค ดอกผลของเงินและรายได้ผลประโยชน์อื่น ๆ ของโรงเรียน
โรงเรียนจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เจตนารมณ์ในการจัดตั้งโรงเรียนเพื่อเป็นศูนย์ฝึกวิชาชีพครูและห้องปฏิบัติ
การทางการศึกษาของคณะครุศาสตร์และหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ทั้งเป็นแหล่ง
ทดลอง ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาความรู้ต่าง ๆ ส่งเสริมการท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรม และเพื่อบริการวิชาการ
แก่ชุมชน เป็นโรงเรียนทางเลือกที่มีการสอนตามหลักสูตรบูรณาการ แตกต่ำงจำกโรงเรียนที่สังกัดภำยใต้กำร
ก�ำกับดูแลของคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน โดยโรงเรียนสามารถเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียนได้ ตามมติของสภามหาวิทยาลัย และประกาศของกระทรวงศึกษาธิการภายใต้การอนุญาตของคณะกรรมการ
การศึกษาของโรงเรียน ซึ่งผู้ปกครองรับทราบ โดยไม่ปรากฏว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชน จึงเห็นควรให้ยุติเรื่อง
(รายงานผลการพิจารณา ที่ ๑๐๗๙/๒๕๕๘)
๑๗
ค�าร้องที่ ๒๗๐/๒๕๕๔ และ ๔๙/๒๕๕๖: กรณีนโยบายยุบ ควบรวมโรงเรียน
ผู้ร้องที่ ๑ (สภาการศึกษาทางเลือก) และ ผู้ร้องที่ ๒ (เครือข่ายครูและผู้บริหารสถานศึกษาแห่งประเทศไทย) ได้
ยื่นค�าร้องต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เห็นว่านโยบายการยุบ ควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กของกระทรวง
ศึกษาธิการ เป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพในการศึกษาของเด็กนักเรียน จึงขอให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ตรวจสอบ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นด้วยกับความเห็นของคณะอนุกรรมการตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านเด็ก สตรี และความเสมอภาคของบุคคล ดังนี้ (รายงานผลการพิจารณา ที่ ๔๗๗-
๔๗๘/๒๕๕๗)
• นโยบายยุบ ควบรวม โรงเรียนของผู้ถูกร้องเป็นนโยบายที่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพในการศึกษาของเด็กนักเรียน
รัฐต้องค�านึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสิ่งส�าคัญอันดับแรก โดยเฉพาะการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา
ซึ่งต้องเป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เด็กทุกคนสามารถเรียนโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ รัฐต้องด�าเนินการให้ได้อย่าง
ทั่วถึง เพื่อให้เด็กได้สิทธิในการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย สมอง จิตใจ ศีลธรรมและสังคมของเด็ก ดังนั้น การจัดการ
ศึกษาเพื่อให้เด็กได้พัฒนาในมิติที่รอบด้าน เป็นเรื่องที่รัฐจะต้องด�าเนินการและลงทุนเพื่อเด็กพัฒนาสู่เป้าหมายชีวิต
ที่มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
• นโยบายยุบ ควบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก โดยอ้างเหตุผลด้านงบประมาณของรัฐไม่อาจจัดงบประมาณ เพื่อเพิ่ม
ครูมาสอนให้เด็ก ๆ ในโรงเรียนขนาดเล็กได้ในแต่ละวิชาแต่ละชั้น เป็นข้ออ้างที่ไม่สมเหตุสมผลและแสดงถึงนโยบาย
รัฐที่ยังไม่ค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นล�าดับแรก และพื้นฐานโอกาสที่เท่าเทียมกันทางการศึกษา ซึ่งนโยบาย
ดังกล่าวเป็นความบกพร่องในการบริหารจัดการงบประมาณที่อาจแก้ไขได้ เนื่องจากก่อนหน้านั้นรัฐบาลได้สนับสนุน
ให้มีโรงเรียนขนาดเล็กมาโดยต่อเนื่อง และต้องมีแผนการด�าเนินงานจัดจ้างครูอยู่พร้อมแล้ว แต่ต่อมารัฐก็ไม่อาจ
จัดหางบประมาณให้เพียงพอในการบริหารการศึกษาส�าหรับโรงเรียนขนาดเล็กได้ จึงเป็นการบริหารจัดการที่ขาด
ประสิทธิภาพ ควรปรับการบริหารงบประมาณใหม่แทนการใช้วิธีก�าหนดนโยบายยุบ ควบรวม โรงเรียนขนาดเล็ก
54