Page 109 - คู่มือการทำความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
P. 109

คู่มือ การทำาความเข้าใจ เรื่อง สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง 107







                                                           DDD
                                       วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ สำานักงานข่าวKaladan รายงานว่า

                         ชาวโรฮิงญา ๒ คน กระโดดออกจากที่กักขังชั่วคราวและเสียชีวิตในประเทศไทย ที่กักขังชั่วคราวนี้มีชาว
                                   โรฮิงญาอยู่ประมาณ ๓๐๐ คน พื้นที่เล็กจนไม่สามารถเคลื่อนย้ายร่างกายได้

                                            ชาวโรฮิงญาไม่ได้ออกกำาลังกาย และไม่ได้ใช้แขนขา

                                     กรณีเช่นนี้ คือตัวอย่างของการปฏิบัติต่อบุคคลอย่างโหดร้าย ใช่หรือไม่?

                                                           DDD




                     สิทธิในกระบวนก�รยุติธรรม : ก�รซ้อมทรม�นและก�รปฏิบัติอย่�งไร้มนุษยธรรม

                     หรือก�รลงโทษ

                            คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติรับเรื่องร้องเรียนจำานวน ๓๔ เรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง
                     การซ้อมทรมานในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย ในจังหวัดสงขลา ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส

                     ในช่วงปีพ.ศ. ๒๕๔๐ ถึง กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้สืบค้น
                     ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับคดีและจัดทำาข้อเสนอสู่รัฐบาลไทย โดยเฉพาะหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ

                     มีหน้าที่ตามกฎหมาย ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สิทธิมนุษยชน กลไกปกป้องสิทธิมนุษยชน และ
                                                             ๒๙
                     กระบวนการยุติธรรม รวมถึงกระบวนการเยียวยา  จากกระบวนการสืบสวนสอบสวนกรณีปัญหาใน
                     พื้นที่จังหวัดภาคใต้มีผลต่อการปฏิบัติงานในภาคอื่นๆ ของประเทศด้วย ข้อเสนอแนะสามารถสรุปได้
                     ดังต่อไปนี้



                     หลักเกณฑ์กลไกก�รปกป้องสิทธิมนุษยชน

                            ๑.  หน่วยงานความมั่นคง (กองทัพ) และสำานักงานตำารวจแห่งชาติ ควรสร้างระบบที่โปรงใส

                                และตรวจสอบได้ เพื่อขจัดการทรมานในทุกขั้นตอนกระบวนการยุติธรรม ตั้งแต่
                                ชั้นจับกุม ควบคุมตัว คุ้มกัน ปล่อยตัว คุมขัง และการส่งต่อผู้ถูกจับกุมจากสถานที่หนึ่ง
                                ไปสู่สถานที่หนึ่ง

                            ๒.  หน่วยงานความมั่นคง (กองทัพ) และสำานักงานตำารวจแห่งชาติ ต้องแยกโครงสร้างการ

                                คุมขังออกจากหน่วยจับกุม หน่วยสืบสวนสอบสวน หรือห้องสอบสวน ในช่วงของการ
                                ควบคุมตัวนั้นต้องมีการระบุอย่างแน่ชัด
                            ๓.  หน่วยงานความมั่นคง (กองทัพ)  และสำานักงานตำารวจแห่งชาติ  ควรจะพัฒนาขั้นตอน

                                การสืบสวนสอบสวนกับผู้ต้องหา ทั้งการสืบราชการลับ การเก็บข้อมูล หรือการปรับ



                                                         th
                     ๒๙  Investigation Report No. 275-304/2553, 15  September 2010
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114