Page 109 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 109

108


       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
       การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน


                           ๔.๒.๒.๑  บทบ�ทและอำ�น�จหน้�ที่ต�มกฎหม�ยของคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
                                    แอฟริก�ใต้ (South African Human Rights Commission : SAHRC)

                                    SAHRC มีอำานาจที่จะ

                                    •  สืบสวนและรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชน
                                    •  ช่วยเหลือและประกันการชดเชยที่เหมาะสม
                                        ในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน

                                    •  ทำาวิจัย
                                    •  ศึกษา

                                    การติดตามตรวจสอบ และเฝ้าระวังสถานการณ์สิทธิมนุษยชนภายในประเทศ

                  ถือเป็นบทบาทที่สำาคัญอีกบทบาทหนึ่งของ SAHRC ดังที่มาตรา ๑๘๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐ
                  แอฟริกาใต้ได้กำาหนดอำานาจหน้าที่ของ SAHRC ให้มีหน้าที่สำาคัญ คือ
                                    •  ส่งเสริมความเคารพในสิทธิมนุษยชนและวัฒนธรรมทางด้านสิทธิมนุษยชน

                                    •  ส่งเสริมการคุ้มครอง การพัฒนา และความสำาเร็จทางด้านสิทธิมนุษยชน
                                    •  การตรวจสอบ เฝ้าระวัง และประเมินผลการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน

                                        ภายในประเทศ
                                    อำานาจหน้าที่ดังกล่าวนี้ได้รับรองไว้ในรัฐบัญญัติ ฉบับที่ ๑๐๘ (ค.ศ. ๑๙๙๖)
                  (พ.ศ. ๒๕๓๙) ได้รับรองอำานาจหน้าที่ของ SAHRC ไว้ทำานองเดียวกัน


                           ๔.๒.๒.๒  ก�รพัฒน�เพื่อประเมินก�รดำ�เนินก�รด้�นสิทธิมนุษยชน

                                    ของคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติแอฟริก�ใต้
                                    (South AfricanHuman Rights Commission : SAHRC)

                                    ด้วยอำานาจหน้าที่ดังกล่าวข้างต้น SAHRC จึงได้จัดให้มีเครื่องมือเพื่อใช้ประเมิน
                  สถานการณ์สิทธิมนุษยชน (measure for assessment of human rights)

                                    ตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนที่พัฒนาขึ้น มุ่งเน้นให้มีความเท่าเทียมกันในด้านเชื้อชาติ

                  เป็นสำาคัญ เนื่องจากเป็นปัญหาหลักที่เกิดขึ้นในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้มาช้านาน ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว
                  ข้างต้น  ทั้งนี้ เพื่อรับทราบข้อมูลความก้าวหน้าด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศ

                                    ในส่วนของตัวชี้วัดเชิงคุณภาพและตัวชี้วัดเชิงปริมาณ  สาธารณรัฐแอฟริกาใต้
                  เน้นให้มีตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ในลักษณะของการเก็บรวบรวมสถิติและการนำาเสนอข้อมูล โดยขึ้นอยู่กับ

                  ความเหมาะสมของลักษณะของสิทธิมนุษยชนในแต่ละด้าน เพื่อความเป็นรูปธรรมและสามารถเห็น
                  ผลต่างได้อย่างชัดเจน เพราะตัวชี้วัดเชิงปริมาณสามารถนำามาเปรียบเทียบ เพื่อชี้ให้เห็นความแตกต่าง
                  ที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลาได้อีกด้วย ซึ่งจะทำาให้เห็นแนวโน้มของการพัฒนาสิทธิมนุษยชนได้ดียิ่งขึ้น

                                    ในแต่ละปี หน่วยงานของรัฐจะต้องให้ข้อมูลที่ชี้วัดว่าหน่วยงานต่างๆ เหล่านั้น
                  ได้ดำาเนินการเพื่อนำาไปสู่ความเป็นรูปธรรมของสิทธิต่างๆ ที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติสิทธิในเรื่อง

                  ของที่อยู่อาศัย สาธารณสุข อาหาร น้ำา ความมั่นคงทางสังคม การศึกษา และสิ่งแวดล้อม แก่ SAHRC
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114