Page 222 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 222
ตัวชี้วัดที่ 5.1 การมีมีสภาพการท างาน และสวัสดิการด้านแรงงานที่เหมาะสม (UDHR-5.1)
ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a) ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c) ค าอธิบาย
ตัวชี้วัดหลัก (A) ตัวชี้วัดหลัก (B) ตัวชี้วัดหลัก (C) การมีสิทธิในการท างานในสภาพการ
1. มีกฎหมายคุ้มครองแรงงานโดยมี 1. มีการรับข้อชี้แนะ ค าแนะน า ของ 1. ร้อยละของลูกจ้างที่อยู่ในระบบ ท างาน และสวัสดิการด้านแรงงานที่
สาระส าคัญอย่างน้อยที่สุดดังนี้ องค์การระหว่างประเทศ (ILO/HR ประกันสังคม เหมาะสม
ค่าจ้างที่เท่าเทียมระหว่างหญิง Committee/ESCR Committee/ 2. รายงานเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียน (แบบ
ชายในงานที่มีคุณค่าเท่ากัน HR Council-UPR) มาปรับใช้ กลุ่ม) เกี่ยวกับนายจ้างไม่จ่ายค่าจ้าง
จ านวนชั่วโมงการท างาน และให้ 2. มีกลไกการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครอง ตามสัญญา หรือจ่ายต่ ากว่าอัตรา
การท างานล่วงเวลาต้องได้รับ แรงงาน และกลไกการระงับข้อ ค่าจ้างขั้นต่ า
ความยินยอมของลูกจ้างและโดย พิพาทแรงงานที่มีประสิทธิภาพ 3. จ านวนเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการ
ได้รับค่าจ้าง (พนักงานตรวจแรงงาน ศาลแรงงาน ไม่ได้รับความเป็นธรรมในการได้รับ
ก าหนดจ านวนวันหยุดประจ า สหภาพแรงงาน ที่รักษาผลประโยชน์ บริการด้านสวัสดิการแรงงาน
สัปดาห์ วันหยุดประจ าปี และ ของผู้ใช้แรงงาน) ตัวชี้วัดรอง (c)
การก าหนดให้การลาคลอดเป็น 3. มีแผนและนโยบายการคุ้มครอง
วันลาโดยไม่ขาดงาน แรงงานนอกระบบและแรงงานภาค 4. จ านวนเรื่องร้องเรียนที่ลูกจ้าง
ก าหนดอายุขั้นต่ าของลูกจ้างที่ การเกษตรและบุคคลกลุ่มพิเศษ เช่น กล่าวหาว่านายจ้างกลั่นแกล้ง อัน
สอดคล้องกับมาตรฐานองค์การ ผู้พิการ เด็ก ผู้สูงวัย ชนกลุ่มน้อย ชน เนื่องจากขัดขืนค าสั่งให้ท างาน
แรงงานระหว่างประเทศ พื้นเมือง แรงงานข้ามชาติ ล่วงเวลา หรือท างานในวันหยุด
ก าหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ าของ 5. อัตราคนว่างงาน (แยกตามเพศ อายุ
ประเทศ กลุ่มเชื้อชาติ)
6. จ านวนเรื่องร้องเรียนของลูกจ้างที่ถูก
ให้ออกจากงานอย่างไม่เป็นธรรมโดย
ไม่ได้รับค่าชดเชยตามกฎหมาย 160