Page 125 - รายงานสรุปโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต้ ครั้งที่ 3
P. 125
๑๒๔
เก็บตกเสียงจากผู้ไร้สิทธิ
“มหาวิทยาลัยทักษิณยินดีที่จะเป็นกระบอกเสียงและเปิดพื้นที่ให้กับพี่น้องทุกคน เข้า มาร่วมคิด
ร่วมคุยเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสังคม”
รองศาสตราจารย์ไพบูลย์ ดวงจันทร์
คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
“เขามองเรื่องนักท่องเที่ยวเป็นเรื่องใหญ่ ให้นายทุนออกเอกสารสิทธิ์ทับที่พวกเรา ไม่เว้นแม้แต่
หลุมฝังศพของบรรพบุรุษ แล้วพวกเราจะท าอย่างไร ทั้งๆที่พวกเราอยู่มาก่อน”
ศุชาวรรณ ประมงกิจ เครือขํายวัฒนธรรมชาวเล จังหวัดภูเก็ต
“เราจะรอความเป็นไทยของเรา ถึงแม้ว่าปู่ย่าตายายของเราจะรอจนตายไปหลายคนแล้วก็ตาม”
ซอฮิบ เจริญสุข เครือขํายคนไทยพลัดถิ่น
“ ฉันเชื่อว่าพลังของผู้หญิงส าคัญเหมือนกันในการขับเคลื่อนชุมชน”
ปูซียะ เจะสือแม กลุํมผู๎หญิงเครือขํายชุมชนศรัทธา
“ ความจริง และ ความยุติธรรม จะต้องเกิดขึ้นในสังคมแห่งนี้”
แยน๏ะ สาแลแม รางวัลนักปกป้องสิทธิมนุษยชน
“เราพยายายามเชื่อมร้อยเครือข่ายทั้งพี่น้องเขา พี่น้องนา พี่น้องเล มาพบปะแลกเปลี่ยนกัน
เพื่อพัฒนาสตูลของเรา แต่วันนี้บ้านของเราก าลังจะถูกโครงการสร้างท่าเรืออุตสาหกรรมซึ่งเป็น
โครงการขนาดใหญ่จะเข้ามาท าลายสิ่งที่เราท า”
อะห์บาร์ อุเส็น เครือขํายอิควะฮ์เปอร์ตาเนียน สโตย จังหวัดสตูล
“เราต้องร่วมมือกันทั้ง 4 เสาหลัก ซึ่งมีโต๊ะอิหม่าม ผู้ใหญ่บ้าน อบต. และผู้น าธรรมชาติ ในการ
พัฒนาหมู่บ้านของเราและเชื่อว่าแนวทางนี้จะเป็นทางออกในการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
ยะโก๏ะ มิหนา โต๏ะอิหมําม อ าเภอโคกโพธิ์ เครือขํายชุมชนศรัทธา
“การศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้วันนี้ จะต้องวางนโยบายให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของ
พื้นที่โดยเฉพาะการให้เด็กได้เรียนรู้หลักศาสนาที่ถูกต้องจึงเป็นเรื่องที่ส าคัญ หลักสูตรต้องมุ่งไปใน
ทิศทางนี้” อาไซน์นํา อับดุลเลาะ ผู๎อ านวยการโรงเรียนบ๎านจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
เครือขํายโรงเรียนตักวา
รายงานโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต ครั้งที่ ๓ เสียงจากผูไรสิทธิชายแดนใต