Page 231 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 231

ทำใหสายพันธุของสัตวปาแข็งแรง หากพื้นที่เล็ก
                                                       สัตวปาผสมพันธุกันเองในครอบครัว ลูกที่เกิดมาจะ
                                                       มีลักษณะดอยลงและออนแอลงเรื่อยๆ
                                                             อยางไรก็ตาม ปจจุบันพื้นที่ของกลุมปาเขาสก-

                                                       คลองแสง-แกงกรุง มีสภาพเปนเกาะถูกแบงแยก
                                                       ออกจากกัน ทำใหขาดความตอเนื่องของผืนปาและ
                                                       ระบบนิเวศ โดยโครงการพัฒนาตางๆ เชน ถนน
                                                       อางเก็บน้ำ การปลูกพืชเชิงเดี่ยว ในการอนุรักษจึง
                                                       เหลือพื้นที่ตอเนื่องและมีพื้นที่เชื่อมตอระหวางกัน
                                                       รวมกันราว ๒,๒๑๘,๒๑๗ ไร
                                                             การศึกษาพบวาโครงการกอสรางถนน
                                                       ทำใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม
                                                       ดังนี้

                                                          ๑.  กระตุนใหเกิดการบุกรุกแผวถางปาอยาง
                  ๑. คุณคาดานการอนุรักษความหลากหลาย       รุนแรง จากการเขาไปตั้งถิ่นฐานของชุมชน
            ทางชีวภาพ  คือ  ความเปนผืนปาใหญและความ        ตามแนวถนน ซึ่งจากการสำรวจพบวา มี
            ตอเนื่องของระบบนิเวศ และคุณคาในการเปนถิ่น     ความพยายามของกลุมนายทุนเขาไปจับจอง
            อาศัยของสัตวปาหายาก                            แผวถางพื้นที่ตามแนวเสนทางโครงการ
                  ๒. คุณคาดานการเปนแหลงตนน้ำลำธาร ทั้ง  ตัดถนนผานอยางตอเนื่อง
            ลุมน้ำคลองกะเปอร และลุมน้ำคลองยัน          ๒. ทำใหระบบนิเวศของกลุมปาเขาสก-คลองแสง-

                  กลาวคือ เมื่อรวมพื้นที่เขตอุทยานแหงชาติ  แกงกรุง ถูกตัดขาด ทำใหเกิดการแบงแยก
            แกงกรุง และเขตรักษาพันธุสัตวปาคลองยัน รวมกัน  ถิ่นอาศัยของสัตวปา  เปนผลลบตอแหลง
            ทั้งสิ้น ๖๗๖,๒๕๐ ไร และมีความสำคัญตอเนื่องกับ  พันธุกรรมและความหลากลายทางชีวภาพ
            พื้นที่อนุรักษอื่นๆ รวมทั้งสิ้น ๑๑ แหง รวมเรียกวา   การสูญเสียพื้นที่ปาอนุรักษตามแนวถนน
            “กลุมปาเขาสก-คลองแสง-แกงกรุง” ถือเปนผืนปาที่  ระยะทางที่ตัดผาผานปาอนุรักษ ๒๘.๓๔-
            มีขนาดใหญที่สุดที่ยังคงเหลืออยูในปจจุบันของภาค  ๓๐.๒๒ กิโลเมตร และในระยะยาว การตัดขาด
            ใตตอนบน ในทางทฤษฎี สรุปไดวา การอนุรักษปา    พื้นที่สองฝงทำใหระบบนิเวศถูกตัดขาดอยาง
            ผืนใหญและมีพื้นที่ตอเนื่องมีความสัมพันธโดยตรง  ถาวร
            กับศักยภาพดานการอนุรักษปาไมและสัตวปาของ    จึงมีขอเสนอแนะตอโครงการ ใหรัฐบาลและ

            พื้นที่ อนุรักษ เชน ปาที่มีขนาดใหญขึ้น ๑๐ เทา จะ  กรมทางหลวงยกเลิกโครงการดังกลาวโดยดวนเพื่อ
            มีสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้นประมาณ ๑ เทาตัว เมื่อพื้นที่อยู  ยับยั้งการบุกรุกจับจองพื้นที่ปาอนุรักษ และอนุรักษ
            อาศัยลดลง ๕ เปอรเซ็นต จำนวนสิ่งมีชีวิตที่อยูใน  ความอุดมสมบูรณของพื้นที่ผืนปาอนุรักษ “กลุมปา
            พื้นที่นั้นจะลดลง ๑๐ เปอรเซ็นต การมีพื้นที่ขนาด  เขาสก-คลองแสง-แกงกรุง” และใหกรมอุทยานแหง
            ใหญยังชวยใหพันธุกรรมของสัตวใหญ เชน ชาง  ชาติ สัตวปา และพันธุพืช ปองกันและแกไขปญหา
            กระทิง วัวแดง อาศัยอยูไดอยางปลอดภัย เพราะมี  การบุกรุกจับจองพื้นที่ ภายใตกรอบการมีสวนรวม
            โอกาสแลกเปลี่ยนสายพันธุกับประชากรกลุมอื่น อัน  ของชุมชน และองคกรที่เกี่ยวของ


                    เสียงจากประชาชน
            230     การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236