Page 53 - คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาสำหรับประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 53
(๑) ตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปัญหำกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกกรณี
และเสนอแนะมำตรกำรหรือแนวทำงในกำรป้องกันหรือแก้ไขกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน
รวมทั้งกำรเยียวยำผู้ได้รับควำมเสียหำยจำกกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อหน่วยงำน
ของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง
(๒) จัดท�ำรำยงำนผลกำรประเมินสถำนกำรณ์ด้ำนสิทธิมนุษยชนของประเทศ
เสนอต่อรัฐสภำและคณะรัฐมนตรี และเผยแพร่ต่อประชำชน
(๓) เสนอแนะมำตรกำรหรือแนวทำงในกำรส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
ต่อรัฐสภำ คณะรัฐมนตรี และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง รวมตลอดทั้งกำรแก้ไขปรับปรุง
กฎหมำย กฎ ระเบียบ หรือค�ำสั่งใดๆ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน
(๔) ชี้แจงและรำยงำนข้อเท็จจริงในกรณีที่มีกำรรำยงำนสถำนกำรณ์เกี่ยวกับ
สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม
(๕) สร้ำงเสริมทุกภำคส่วนของสังคมให้ตระหนักถึงควำมส�ำคัญของสิทธิมนุษยชน
(๖) หน้ำที่และอ�ำนำจอื่นตำมที่กฎหมำยบัญญัติ
๒) ช่องทางในการร้องเรียนกรณีพบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
(๑) ติดต่อแจ้งเรื่องร้องเรียนด้วยตนเองหรือส่งเรื่องร้องเรียนทำงไปรษณีย์
ไปที่ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ เลขที่ ๑๒๐ หมู่ ๓ ศูนย์รำชกำร
เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษำฯ อำคำรรัฐประศำสนภักดี ชั้น ๖-๗ ถนนแจ้งวัฒนะ
แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหำนคร ๑๐๒๑๐
(๒) ส่งเรื่องร้องเรียนทำงเว็บไซต์ ที่ http://www.nhrc.or.th
(๓) โทรศัพท์สำยด่วน ๑๓๗๗ หรือ ทำงโทรศัพท์๐๒-๑๔๑-๓๘๐๐,
๐๒-๑๔๑-๓๙๐๐
๕๒ คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาส�าหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
18-9-62.indd 52 18/9/2562 21:58:37