Page 177 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 177
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
แผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
เป้าหมาย เป้าหมายย่อย วิธีดําเนินการ
และทําให้กองทุน Green Climate Fund
ดําเนินงานอย่างเต็มที่โดยเร็วที่สุดผ่านการ
ให้ทุน (capitalization)
13.b ส่งเสริมกลไกที่จะเพิ่มขีดความสามารถใน
การวางแผนและการบริหารจัดการที่
เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศอย่างมีประสิทธิผลในประเทศ
พัฒนาน้อยที่สุด และให้ความสําคัญต่อ
ผู้หญิง เยาวชน และชุมชนท้องถิ่นและ
ชายขอบ
เป้าหมายที่14: 14.1 ป้องกันและลดมลพิษทางทะเลทุกประเภท โดยเฉพาะ 14.a เพิ่มความรู้ทางวิทยาศาสตร์ พัฒนาขีด
อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จาก จากกิจกรรมบนแผ่นดิน รวมถึงซากปรักหักพัง ความสามารถในการวิจัย และถ่ายทอด
มหาสมุทร ทะเล และ ทางทะเลและมลพิษของสารอาหาร (nutrient เทคโนโลยีทางทะเล โดยคํานึงถึงหลักเกณฑ์
ทรัพยากรทางทะเลสําหรับ pollution) ภายในปี พ.ศ. 2568 และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการถ่ายทอด
การพัฒนาที่ยั่งยืน ให้เป็นไป 14.2 บริหารจัดการและปกป้องระบบนิเวศทางทะเลและ เทคโนโลยีทางทะเลของคณะกรรมาธิการ
อย่างยั่งยืน ชายฝั่งเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบทางลบที่มีนัยสําคัญ สมุทรศาสตร์ระหว่างรัฐบาล เพื่อจะ
รวมถึงโดยการเสริมภูมิต้านทานและปฏิบัติการเพื่อ พัฒนาคุณภาพของมหาสมุทรและเพิ่มพูน
ฟื้นฟู เพื่อบรรลุการมีมหาสมุทรที่มีสุขภาพดีและ ให้ความหลากหลายทางชีวภาพในทะเลมี
มีผลิตภาพ ภายในปี พ.ศ. 2563 ส่วนสนับสนุนการพัฒนาของประเทศ
14.3 ลดและแก้ปัญหาผลกระทบของการเป็นกรดใน กําลังพัฒนามากขึ้น เฉพาะอย่างยิ่งในรัฐ
มหาสมุทร โดยรวมถึงผ่านทางการเพิ่มพูนความ กําลังพัฒนาที่เป็นเกาะขนาดเล็กและ
ร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ในทุกระดับ ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด
14.4 ภายในปี พ.ศ. 2563 ให้กํากับอย่างมีประสิทธิผลใน 14.b จัดให้มีการเข้าถึงทรัพยากรทางทะเลและ
เรื่องการเก็บเกี่ยวและยุติการประมงเกินขีดจํากัด ตลาดสําหรับชาวประมงพื้นบ้านรายเล็ก
การประมงที่ผิดกฎหมาย ที่ไม่มีการรายงาน และที่ 14.c เพิ่มพูนการอนุรักษ์และการใช้มหาสมุทร
ไม่มีการควบคุม และแนวปฏิบัติด้านการประมงที่ และทรัพยากรเหล่านั้นอย่างยั่งยืน โดย
เป็นไปในทางทําลาย และดําเนินการให้เป็นผลตาม การดําเนินการให้เกิดผลตามกฎหมาย
แผนการบริหารจัดการที่อยู่บนฐานวิทยาศาสตร์ ระหว่างประเทศตามที่สะท้อนใน UNCLOS
เพื่อจะฟื้นฟูมวลปลา (fish stock) ในเวลาที่สั้นที่สุด ซึ่งเป็นกรอบทางกฎหมายสําหรับการ
ที่จะเป็นไปได้ อย่างน้อยที่สุดในระดับที่สามารถไป อนุรักษ์และการใช้มหาสมุทรและ
ถึงจุดสูงสุดที่ให้ผลตอบแทนแบบยั่งยืน (maximum ทรัพยากรเหล่านั้นอย่างยั่งยืน ตามที่ระบุ
sustainable yield) ตามคุณลักษณะทางชีววิทยา ในย่อหน้าที่ 158 ของเอกสาร The
ของสัตว์น้ําเหล่านั้น Future We Want
14.5 ภายในปี พ.ศ. 2563 อนุรักษ์พื้นที่ทางทะเลและ
ชายฝั่งอย่างน้อยร้อยละ 10 ให้เป็นไปตามกฎหมาย
ระหว่างประเทศและภายในประเทศ และอยู่บน
พื้นฐานของข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่ดีที่สุดที่มีอยู่
14.6 ภายในปี พ.ศ. 2563 ยับยั้งรูปแบบการอุดหนุนการ
ประมงบางอย่างที่มีส่วนทําให้เกิดการประมงเกิน
ขีดจํากัด ขจัดการอุดหนุนที่มีส่วนทําให้เกิดการ
ประมงที่ผิดกฎหมาย ที่ไม่มีการรายงาน และที่ไม่มี
4-30