Page 4 - รายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ประจำปี 2558
P. 4

ค�าน�า               หลักการปารีส (Paris Principles) ได้ก�าหนดบทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่ส�าคัญไว้อย่างน้อย
                                   ๕ ประเด็น กล่าวคือ (๑) การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (Protecting Function) และการท�างานกึ่งตุลาการ

                                   (Quasi-Judicial Function) (๒) การให้ค�าปรึกษาด้านสิทธิมนุษยชน (Advisory Function) (๓) การเฝ้าระวัง
                                   สถานการณ์สิทธิมนุษยชน (Monitoring Function) (๔) การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน (Promotional
                                   Function) และ (๕) การท�างานร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและองค์กรอื่น ๆ ทั้งในและต่างประเทศ (Relationship
                                   with Stakeholders and Other Bodies) ประกอบกับตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                                   พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ (๖) ก�าหนดให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ต้องจัดท�ารายงานประจ�าปี
                                   เพื่อประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ น�าเสนอต่อรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี  พร้อมทั้งเปิดเผย
                                   ต่อสาธารณชน โดยการจัดท�ารายงานการประเมินสถานการณ์เป็นการส่งเสริมให้สาธารณชนได้รับทราบถึงสถานการณ์

                                   สิทธิมนุษยชนภายในประเทศว่าในแต่ละปี มีเหตุการณ์ที่ส�าคัญใดบ้างที่มีผลกระทบต่อสิทธิของประชาชนตามที่
                                   รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ กฎหมายภายในอื่น ๆ รวมทั้งพันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี มาตรฐาน
                                   ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง และค�ามั่นสัญญาต่าง ๆ ที่รัฐบาลไทยได้ให้ไว้ต่อประชาคมระหว่างประเทศ ทั้งในด้านที่เป็น
                                   ความก้าวหน้าและความถดถอย



























             ทั้งนี้ การจัดท�ารายงานการประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชน   ปี ๒๕๕๓ - ๒๕๕๘ และประเด็นหลัก ๆ ที่สาธารณชนให้ความส�าคัญ
             ภายในประเทศไทย ปี ๒๕๕๘ กสม. ได้รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง   โดยที่มิติเชิงประเด็นและกลุ่มเป้าหมายเหล่านี้จะทับซ้อน เชื่อมโยง
             และคัดเลือกประเด็นจากสถานการณ์ส�าคัญซึ่งเป็นที่สนใจ  และเกี่ยวพันกันอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ซึ่งในการน�าเสนอกรณี
             อย่างกว้างขวาง ทั้งจากหน่วยงานรัฐและเอกชน สื่อมวลชน   ที่มีประเด็นเชื่อมโยงระหว่างมิติและกลุ่มเป้าหมายในรายงาน
             สาธารณชน ตลอดจนประชาคมระหว่างประเทศ และ/หรือ         จะเลือกน�าเสนอข้อมูลรายละเอียดไว้ในมิติหนึ่งมิติใดเป็นการ
             เห็นว่ามีนัยส�าคัญต่อการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน   เฉพาะในขณะที่จะแสดงการอ้างอิงที่เชื่อมโยงไว้ในเชิงอรรถ
             ในประเทศ รวมถึงเรื่องที่ กสม. ได้ด�าเนินงานที่เกี่ยวข้อง   ท้ายหน้าในแต่ละส่วน
             ในประเด็นต่าง ๆ เหล่านั้นทั้งจากการจัดท�ารายงานการตรวจสอบ   กสม. หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การปฏิบัติหน้าที่ในการประเมิน
             หรือการจัดท�าข้อเสนอแนะ  เพื่อแก้ไขปัญหาไปยังรัฐบาล    สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในครั้งนี้จะช่วยให้เกิดการทบทวน
             หน่วยงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง แล้วน�ามาวิเคราะห์ สังเคราะห์   พิจารณา และสร้างเสริมพลังการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้สถานการณ์
             ประเมินสถานการณ์ในด้านต่าง ๆ โดยมีเกณฑ์หรือมาตรฐานหลัก  สิทธิมนุษยชนในสังคมไทยดียิ่งขึ้น โดยนอกจากจะเป็นข้อเสนอ
             ในการประเมิน ซึ่งประเด็นที่น�าเสนอในรายงานฉบับนี้ครอบคลุม  ต่อรัฐบาลในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภาพรวมแล้ว
             มิติสิทธิมนุษยชนทั้งในเชิงประเด็น และกลุ่มเป้าหมาย โดยจ�าแนก  ยังสร้างวัฒนธรรมการคิดและวิพากษ์วิจารณ์เชิงสร้างสรรค์
             ตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย  สร้างความตระหนักรู้และเข้าใจในเรื่องสิทธิมนุษยชนมากยิ่งขึ้น
             เป็นภาคี ยุทธศาสตร์และกรอบการด�าเนินงานของ กสม. ระหว่าง
                                                                                     คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                                                                                                    พฤษภาคม 2560
   1   2   3   4   5   6   7   8   9