Page 225 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 225
ผลกระทบของราษฎรจากการถูกละเมิด
- ราษฎรขอออกเอกสารสิทธิในที่ครอบครองทําประโยชน์ไม่ได้
้
- ราษฎรถูกฟองร้องดําเนินคดี
- ราษฎรถูกบังคับ ขับไล่ ออกจากพื้นที่
- ราษฎรสูญเสียทรัพย์สินและที่ดินทํากิน
- ราษฎรถูกกดดันทางสังคม
2. หน่วยงานราชการใช้ประโยชน์ในที่สาธารณประโยชน์
ลักษณะพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
ั
- เจ้าหน้าที่รัฐไม่รับฟงคําคัดค้านราษฎรในการรังวัด นําชี้ แนวเขต
- เจ้าหน้าที่รัฐใช้วิธีการรุนแรงในการขับไล่ ข่มขู่ คุกคาม ดําเนินคดี
- หน่วยงานราชการเข้าใช้ประโยชน์สร้างความเสียหายแก่ทรัพย์สินของราษฎร เช่น การเข้า
ทําลายพืชผล อาสิน ของราษฎร
ั ้
- หน่วยงานราชการห้ามราษฎรเข้าทําประโยชน์ในพื้นที่ เช่น การปกปาย การล้อมรั้วฯ
- หน่วยงานราชการเข้าใช้ประโยชน์ก่อนได้รับอนุญาต
- หน่วยงานราชการเข้าใช้ประโยชน์ที่สาธารณประโยชน์ที่มีขอบเขตไม่ ชัดเจน
- หน่วยงานราชการไม่จ่ายค่าชดเชยหรือจ่ายค่าชดเชยไม่เป็นธรรม ไม่ เหมาะสม
สาเหตุการละเมิดสิทธิ
1. การผลักดันนโยบาย เช่น นโยบายส่งเสริมเรื่องการเกษตร ด้วยการตั้งสถานีต่าง ๆ ฯลฯ
2. การแสวงหาผลประโยชน์ของหน่วยงาน เช่น งบประมาณ การขยายหน้าที่ ฯลฯ
3. ความต้องการใช้พื้นที่ของหน่วยงานราชการเพื่อการสมประโยชน์ของหน่วยงานตน
- สําคัญผิดในสถานะของที่ดิน
- ไม่มีความชัดเจนในแนวเขต
- เจ้าหน้าที่รัฐไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมาย
- เจ้าหน้าที่รัฐไม่สํารวจการใช้ประโยชน์ร่วมกัน ฯลฯ
ผลการละเมิดสิทธิ
- ราษฎรถูกบังคับ ขับไล่ ออกจากพื้นที่
- ราษฎรสูญเสียทรัพย์สินและที่ทํากิน
- ราษฎรไม่สามารถเข้าทําประโยชน์ในที่สาธารณประโยชน์ได้
้
- ราษฎรถูกฟองร้องดําเนินคดี
3. เอกชนบุกรุกที่สาธารณประโยชน์
ลักษณะพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
- ผู้ที่มีหน้าที่ดูแล รักษาที่ดินสาธารณประโยชน์ ละเลยการตรวจสอบ การควบคุม และ
ปล่อย ปะละเลยให้เกิดการบุกรุก หรือทราบว่ามีการบุกรุกแต่ไม่ดําเนินการแก้ไขฯ
- ผู้บุกรุกขัดขวางการเข้าทําประโยชน์ของราษฎรในที่สาธารณประโยชน์
6‐16