Page 141 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 141
่
พิจารณากันเป็นพื้นที่ไปรวมทั้งพื้นที่ที่ลาดชันเฉลี่ยตํ่ากว่าเกณฑ์ก็ยังสามารถกําหนดเป็นพื้นที่ปาได้
่
้
ถ้ายังมีสภาพปาเดิมที่สมบูรณ์หรือมีความจําเป็นในด้านการปกปองสภาวะแวดล้อม ซึ่งสามารถกระทํา
ได้ถ้ายอมรับกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น ด้วยการสร้างกลไกการทํางานร่วมกัน
ระหว่างประชาชนท้องถิ่นกับเจ้าหน้าที่รัฐ
ในส่วนสาระที่เขียนไว้ดีแล้วแต่ไม่นําไปปฏิบัติอย่างจริงจังเช่น ในข้อ 9 เร่งรัดปรับปรุงการวาง
ผังเมือง และกําหนดพื้นที่ที่อยู่อาศัย พื้นที่ชนบทและพื้นที่เกษตรในแต่ละจังหวัดให้แน่นอน เพื่อ
้
่
ปองกันการบุกรุกพื้นที่ปาไม้ และข้อ 2, 5, 12 และข้อ 19 ที่กล่าวถึงภาคเอกชน ควรจะต้องให้
่
ความสําคัญกับราษฎรในท้องถิ่นซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศที่อยู่ใกล้ชิดกับทรัพยากรปาไม้
่
ได้มีบทบาทสําคัญในการตัดสินใจในแผนและโครงการปาไม้ในด้านต่าง ๆ
่
่
โดยหลักการแล้ว นโยบายปาไม้ที่ดีจะช่วยให้มีแนวคิดทิศทางการจัดการที่ดินและปาที่ชัดเจน
่
่
ยังช่วยให้การคุ้มครองรักษาและจัดการใช้ประโยชน์ที่ดินปาไม้มีประสิทธิภาพ แต่นโยบายปาไม้
ั
ปจจุบันนอกจากไม่สมสมัยแล้วยังขาดมิติทางสังคมและการพัฒนา และยังมิได้คํานึงถึงหลักการด้าน
่
สิทธิมนุษยชน นโยบายปาไม้หลายข้อจึงนําไปปฏิบัติไม่ได้หรือบางข้อที่นําไปปฏิบัติก็ทําให้เกิดความ
่
ขัดแย้งกับราษฎรในท้องถิ่น จึงควรทบทวนนโยบายปาไม้เสียใหม่ ดังนี้
1. กําหนดหลักการสําคัญคือเน้นความสามารถนําไปปฏิบัติได้ กล่าวคือจะต้องปรับปรุงให้
สอดคล้องกับบริบททางสังคมและการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป
ั
2. มุ่งการตอบสนองปญหาความต้องการของชุมชนท้องถิ่นและประเทศชาติโดยคํานึงถึงการมี
ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
้
่
่
3. วัตถุประสงค์สําคัญของนโยบายปาไม้แห่งชาติควรเน้นความสมดุลของการปองกันรักษาปา
่
ธรรมชาติ การฟื้นฟูปาโดยกระบวนการทางธรรมชาติและการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น และการ
จัดสรรทรัพยากรอย่างเป็นธรรมเท่าเทียมกัน
่
4. ควรจะต้องให้ความสําคัญกับสิทธิของราษฎรและชุมชนในเขตปาและช่วยส่งเสริมให้ชุมชน
่
่
ในเขตปามีการวางแผนการใช้ที่ดินของชุมชนและใช้สิทธิในการบริหารจัดการที่ดินปาไม้ร่วมกับรัฐ
เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมกับชุมชนท้องถิ่นและประเทศชาติอย่างสมดุล
ยั่งยืน
5. กลไกการจัดการความขัดแย้ง ควรเน้นการแปลงเปลี่ยนความขัดแย้งเป็นความร่วมมือ
อย่างสร้างสรรค์และการบริหารจัดการความขัดแย้งให้เป็นธรรมด้วยสันติวิธี
การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย
่
เพื่อให้กฎหมายปาไม้ทุกฉบับมีความสมสมัยและสอดคล้องกับบริบทและสถานการณ์ของ
ั
สังคมปจจุบันและกฎหมายไม่ซํ้าซ้อนระหว่างหน่วยปฏิบัติด้วยกัน จึงมีข้อเสนอดังนี้
1. ควรปรับปรุงกฎหมายให้มีความเป็นเอกภาพ เชื่อมโยงและสอดคล้องกับการจัดการ
่
ที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติด้านอื่น ๆ ด้วยการนํากฎหมายปาไม้ทุกฉบับมาบูรณาการเป็น ”ประมวล
่
กฎหมายปาไม้” ที่มีลักษณะเป็นกฎหมายส่งเสริม และสนับสนุนราษฎรในท้องถิ่นให้มีอํานาจและ
่
บทบาทหน้าที่ในการคุ้มครองและจัดการใช้ประโยชน์ปาอย่างสมดุลยั่งยืน
5‐69