Page 178 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 178
ตัวชี้วัดที่ 3.3 การได้รับการพิจารณาคดีโดยกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่เป็นธรรมเมื่อถูกกล่าวหาว่ากระท าความผิดทางอาญา (UDHR-3.3)
ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a) ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c) ค าอธิบาย
ตัวชี้วัดหลัก (A) ตัวชี้วัดหลัก (B) ตัวชี้วัดหลัก (C) การได้รับการพิจารณาคดีโดยกระบวน-
1. การเป็นภาคี ICCPR 1. มีการน ากระบวนการพิจารณา 1. ระยะเวลาเฉลี่ยการพิจารณาคดี- การยุติธรรมทางอาญาที่เป็นธรรมเมื่อถูก
2. มีกฎหมายรับรองสิทธิผู้ต้องหาและ คดีอาญาที่เป็นไปตามมาตรฐาน อาญาในศาลชั้นต้นนับตั้งแต่วันฟูอง กล่าวหาว่ากระท าความผิดทางอาญา
จ าเลยในคดีอาญา สอดคล้องกับ ระหว่างประเทศไปใช้ในทางปฏิบัติ ถึงวันพิพากษาของศาลชั้นต้น
มาตรฐานระหว่างประเทศโดยเฉพาะ โดยมีองค์ประกอบในการพิจารณา 2. จ านวนคดีอาญาที่มีระยะเวลาในการ
การสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็น ดังนี้ พิจารณาด าเนินคดีเกินกว่าสองปี
ผู้บริสุทธิ์ ต้องมีการแจ้งข้อหาตอนต้นของ ตัวชี้วัดรอง (c)
การได้รับการพิจารณาโดยศาลที่ การจับกุมจ าเลย
เป็นธรรมอย่างรวดเร็ว การจับกุมต้องมีหมายจับซึ่งออก 3. จ านวนคดีที่สื่อมวลชนรายงานในการ
การมีสิทธิ์ได้รับความช่วยเหลือ โดยศาลเว้นแต่ความผิดซึ่งหน้า แถลงข่าวว่าบุคคลนั้นกระท าความ-
ทางกฎหมายและสิทธิในการ ผู้ต้องหามีสิทธิ์ได้รับค าปรึกษา ผิดอาญา
ประกันตัว จากทนายหรือที่ปรึกษากฎหมาย 4. จ านวนคดีที่สื่อมวลชนรายงานว่า
การแยกผู้ต้องหา จ าเลยออกจาก ในชั้นสอบสวนและในการต่อสู้คดี ผู้ต้องหาถูกท าร้ายในการท าแผน
นักโทษ ในชั้นศาล ประกอบอาชญากรรม
การได้รับการเยียวยาความ การพิจารณาคดีอาญาจะต้องเป็น 5. ระยะเวลาโดยเฉลี่ยของการเริ่มต้น
เสียหายจากกระบวนการยุติธรรม การพิจารณาเปิดเผยในกระบวน- กระบวนฟูองจนคดีถึงที่สุด (แยก
ที่ผิดพลาด การพิจารณาที่เปิดเผยต่อ ประเภทตามอัตราโทษ)
การมีสิทธิอุทธรณ์ต่อศาลสูงขึ้นไป สาธารณะเว้นแต่คดีที่เกี่ยวกับ 6. ระยะเวลาเฉลี่ยของการพิจารณาคดี-
และมีการรื้อฟื้นคดีขึ้นพิจารณา ผู้เยาว์หรือต้องการคุ้มครอง อาญานับตั้งแต่วันฟูองถึงวันพิพากษา
ใหม่ ผลประโยชน์ของจ าเลย ของศาลอุทธรณ์ 138