Page 158 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 158
ตัวชี้วัดที่ 2.6 การปลอดจากการถูกทรมาน ถูกลงโทษ หรือถูกปฏิบัติอย่างทารุณโหดร้าย หรือเป็นการเหยียบย่ าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (UDHR-2.6)
ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a) ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c) ค าอธิบาย
ตัวชี้วัดหลัก (A) ตัวชี้วัดหลัก (B) ตัวชี้วัดหลัก (C) การปลอดจากการถูกลงโทษ หรือถูก
1. การเข้าเป็นภาคี ICCPR, CAT และ 1. มีคณะกรรมการที่มีอ านาจอย่าง 1. สัดส่วนของคดีที่มีการร้องเรียนว่าเจ้า ปฏิบัติอย่างทารุณโหดร้าย หรือเป็นการ
Optional Protocol 1 เพียงพอในการตรวจสอบการทรมาน พนักงานกระท าการทารุณกรรมต่อ เหยียบย่ าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
2. การก าหนดให้การกระท าการทรมาน ในสถาบัน หรือหน่วยงานของรัฐ ที่มี คดีที่มีการลงโทษทางวินัย ลงโทษ
ทารุณโหดร้าย หรือการปฏิบัติที่ย้ ายี หน้าที่ในการควบคุม คุมขัง ดูแล ทางอาญา
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่กระท าโดย ผู้ต้องหา หรือผู้ต้องขัง หรือสถาน- ตัวชี้วัดรอง (c)
เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือบุคคลที่ได้รับ พยาบาล สถานศึกษา
อ านาจจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็น 2. มีกระบวนการให้ทนายความ หรือ 2. จ านวนคดีที่สื่อมวลชน NGOs
ความผิดอาญา ครอบครัว หรือญาติผู้ต้องขัง รายงานเรื่องการทรมาน
ตัวชี้วัดรอง (a) ผู้ต้องหา เข้าเยี่ยมผู้ต้องขัง ผู้ต้องหา 3. จ านวนคดีที่มีรายงานจากคณะ
ทุกคดี กรรมการฯ ว่ามีร่องรอยการถูก
- 3. มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ เช่น ทรมานหรือการถูกท าร้ายร่างกายใน
ต ารวจ ราชทัณฑ์ สถานพินิจ การคุมขัง
เกี่ยวกับมาตรฐานการปฏิบัติต่อ
ผู้ถูกจ ากัดเสรีภาพ
4. มีการจัดท าแนวปฏิบัติ (Code of
Good Practices) ของเจ้าหน้าที่ที่มี
อ านาจควบคุมตัวบุคคล 128