Page 142 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 142
ตัวชี้วัดที่ 2.1 การปลอดจากการถูกพรากชีวิตโดยพลการ โดยอ าเภอใจ หรือโดยมิชอบของรัฐ (UDHR-2.1)
ตัวชี้วัดโครงสร้าง (A/a) ตัวชี้วัดกระบวนการ (B/b) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (C/c) ค าอธิบาย
ตัวชี้วัดหลัก (A) ตัวชี้วัดหลัก (B) ตัวชี้วัดหลัก (C) การปลอดจากการถูกพรากชีวิตโดยพลการ
1. การเป็นภาคีกติการะหว่างประเทศ 1. การก าหนด และทบทวนประเภท 1. จ านวนผู้เสียชีวิตในขณะปฏิบัติการ โดยอ าเภอใจหรือโดยมิชอบของรัฐ และ
ว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการ คดีอาญาที่มีอัตราโทษสูงสุดประหารชีวิต บังคับใช้กฎหมายของเจ้าพนักงาน การใช้โทษประหารชีวิตของรัฐ
เมือง และพิธีสารเลือกรับฉบับที่สอง 2. มีกลไกที่อิสระในการตรวจสอบการ 2. จ านวนผู้เสียชีวิตระหว่างการ
ของกติกาฯ เสียชีวิตของบุคคลจากการบังคับใช้ ควบคุมตัวโดยอาศัยอ านาจตาม
2. การเป็นภาคีอนุสัญญาต่อต้านการ กฎหมายของเจ้าพนักงานและผู้ที่อยู่ กฎหมายของเจ้าพนักงานกับ
ทรมานและการลงโทษหรือการเลือก ในการควบคุมตัวของเจ้าพนักงาน จ านวนคดีที่ศาลรับไว้พิจารณา
ปฏิบัติที่ไร้มนุษยธรรมหรือย่ ายี 3. มีกลไกที่เป็นอิสระ และมีอ านาจ 3. สัดส่วนนักโทษประหารชีวิตในคดีที่
ศักดิ์ศรี (CAT) และพิธีสารเลือกรับ อย่างพอเพียงในการตรวจสอบการ ไม่ได้เป็นความผิดต่อชีวิต (เช่น คดี
ตัวชี้วัดรอง (a) ท าให้บุคคลหายสาบสูญโดยการใช้ ยาเสพติด คดีทุจริต คดีก่อการร้าย
ก าลังบังคับ คดีความมั่นคงต่อราชอาณาจักร)
3. มีการรับรองสิทธิในชีวิตไว้ในรัฐ- 4. มีการอบรมให้ความรู้อย่างสม่ าเสมอ กับคดีที่เป็นความผิดต่อชีวิต
ธรรมนูญ แก่เจ้าหน้าที่ที่มีอ านาจถืออาวุธเพื่อ
4. มีการก าหนดให้การฆ่าผู้อื่นเป็น การบังคับใช้กฎหมายให้เป็นไปตาม ตัวชี้วัดรอง (c)
ความผิดตามกฎหมายอาญา มาตรฐานระหว่างประเทศ 4. จ านวนนักโทษที่ศาลพิพากษา
5. มีกฎหมายควบคุมการท าแท้ง 5. มีการจัดท ารายงานสถานการณ์ ลงโทษประหารชีวิตต่อปี
สิทธิมนุษยชนตามพันธกรณีระหว่าง
ประเทศภายในกรอบระยะเวลา 120