Page 64 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 64

3.4   การละเมิดสิทธิและความเดือดร้อน มาตรการการแก้ไขปัญหา และผลการคุ้มครอง

                   สิทธิตามรายงานการตรวจสอบ
                          จากการประมวลรายงานการตรวจสอบการละเมิดสิทธิในประเด็นฐานทรัพยากรจะปรากฏในเรื่อง
                   ผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมในที่อยู่อาศัย ที่ท ากิน ภาวะมลพิษ การแย่งชิงและการลดลงของทรัพยากร ความ

                   ขัดแย้งในเรื่องการอพยพชุมชนจากที่ตั้งโครงการ ซึ่งเกี่ยวพันถึงเรื่อง ค่าชดเชย การใช้ที่ดิน และข้อพิพาทในเรื่อง
                   ที่ดิน
                                                                                               ั
                          รายงานการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการ ปรากฏความเห็นและมาตรการแก้ไขปญหาออกเป็น 4
                   แนวทางใหญ่ๆ ซึ่งเสนอแนะรายละเอียดที่แตกต่างกันออกไปในรายงานแต่ละเรื่องได้แก่ มาตรการให้ยุติโครงการ ให้
                                                                               ้
                   แก้ไขความเดือดร้อน ยุติการตรวจสอบตามมาตรา 22  ที่เป็นเรื่องมีการฟองร้องเป็นคดีอยู่ในศาล หรือที่ศาล
                   พิพากษาหรือมีค าสั่งเด็ดขาดแล้ว และยุติการตรวจสอบจากเหตุผลอื่นๆ เช่น ผู้ร้องไม่สามารถติดตามเพื่อตรวจสอบ
                                   ั
                   ข้อมูลได้ ประเด็นปญหาได้ทุเลาหรือ ผ่านพ้นไปแล้วเมื่อคณะอนุกรรมการเข้าตรวจสอบ รวมถึงหน่วยงานที่
                                      ั
                   เกี่ยวข้องสามารถแก้ไขปญหา และตกลงไกล่เกลี่ยกันได้ด้วยดี เป็นต้น
                          การติดตามผลการคุ้มครอง ในการศึกษาครั้งนี้เป็นเพียงการประมวลผลในภาพรวมจากการสอบถามผู้ร้อง
                             ั
                   และติดตามปญหาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในช่วงเวลาที่คณะอนุกรรมการยังท าหน้าที่อยู่ (เมษายน 2551) เท่านั้น
                                                                                                        ั
                   พบว่าในกรณีที่ได้จัดท ารายงานการตรวจสอบ มักมีการชะลอการด าเนินโครงการ การตรวจสอบและบรรเทาปญหา
                                                                ั
                   ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในบางกรณีอาจสามารถแก้ไขปญหาได้โดยการตกลงไกล่เกลี่ยและยุติโครงการ รวมถึงมี
                   หลายกรณีที่ไม่ทราบผลการคุ้มครองสิทธิ

                                 3.4.1  ประเด็นปัญหาฐานทรัพยากรน ้า

                                                                                            ั
                                   ั
                                 ปญหาการละเมิดสิทธิในกรณีร้องเรียนหนึ่ง ๆ จะเชื่อมโยงกับประเด็นปญหาหลายประเด็น
                                 ั
                   ด้วยกัน เสมือนปญหาที่เกี่ยวโยงกันเป็นลูกโซ่ ตัวอย่างเช่น โครงการก่อสร้างเขื่อนหรืออ่างเก็บน ้าแห่งหนึ่ง ที่
                                                                                                           ั่
                   ร้องเรียนเข้ามายังคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ แล้วมอบให้คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง
                   แร่และสิ่งแวดล้อมรับไปด าเนินการ หรือร้องเรียนเข้ามายังคณะอนุกรรมการฯชุดนี้โดยตรงก็ตาม ว่าการก่อสร้าง
                                           ั
                   โครงการดังกล่าวจะก่อให้เกิดปญหาน ้าท่วมที่อยู่อาศัยและที่ดินท ากิน ผู้ร้องจึงหวั่นเกรงว่าจะก่อให้เกิดความเสียหาย
                   ต่อวิถีชีวิตและพืชผลการเกษตร แต่เมื่อคณะอนุกรรมการฯได้ท าการศึกษาข้อมูลและลงไปตรวจสอบจะพบว่า
                                                                                   ั
                   นอกจากความหวั่นเกรงในเรื่องดังกล่าวแล้ว จะพบว่าโครงการดังกล่าวยังมีปญหาตามมาอีกมากมาย ไม่ว่า
                                                                                        ั
                                                          ั
                   ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศ วัฒนธรรม ปญหาการจ่ายค่าชดเชยที่ไม่เป็นธรรม ปญหาการอพยพประชาชน
                                                                               ั
                                      ั
                   ออกจากพื้นที่อยู่อาศัย ปญหาการแย่งชิงน ้า เป็นต้น จากการรวบรวมในกลุ่มปญหา 4 กลุ่ม ในเรื่องเขื่อน คลองส่งน ้า
                   การเปลี่ยนสภาพและสร้างสิ่งล่วงล ้าแหล่งน ้า และการจัดการน ้า พบว่า (แสดงตารางแจกแจงประเด็นต่างๆในตาราง
                   ที่ 3.7-1 ถึง 3.7-4)
                                                                                                        ั
                                 เขื่อน อ่างเก็บน ้า ฝาย เป็นกรณีที่เกิดการละเมิดสิทธิในที่อยู่อาศัยและที่ท ากิน ท าให้เกิดปญหา
                                                            ั
                   การบังคับให้ชุมชนอพยพจากพื้นที่สร้างโครงการ ปญหาการไม่ก าหนดค่าชดเชย หรือก าหนดค่าชดเชยที่ไม่เป็น
                                                                                     ั
                                                              ั
                   ธรรมทั้งกรณีโครงการที่ก่อสร้างแล้วและยังไม่ก่อสร้าง ปญหาการท าลายระบบนิเวศ ปญหามลพิษ
                                       หน่วยงานผู้ถูกร้อง ได้แก่ กรมชลประทาน คณะรัฐมนตรี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                                         กรมทรัพยากรน ้า รัฐบาล
                                                                                                 ่
                                       หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมชลประทาน  คณะรัฐมนตรี กรมปาไม้ จังหวัด
                                                                                    ่
                                         กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ปาและพันธุ์พืช  กรมทรัพยากร
                                         น ้า รัฐบาล  ส านักราชเลขาธิการ ส านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน
                                         โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ องค์การบริหารส่วนต าบล



                                                              49
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69