Page 20 - คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามหลักสิทธิมนุษยชน
P. 20

ภาพรวมของคู่มือเล่มนี้จะประกอบไปด้วยเนื้อหาที่สำาคัญๆ สามส่วน
          ด้วยกันดังนี้


                ส่วนที่หนึ่ง  เป็นเรื่องเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
          และหลักการสิทธิมนุษยชนที่เป็นสากลที่ประเทศส่วนใหญ่ให้การยอมรับ

                ส่วนที่สอง  เป็นเรื่องเกี่ยวกับมาตรฐานสิทธิมนุษยชนสากล สำาหรับ
          เจ้าหน้าที่ตำารวจและผู้บังคับใช้กฎหมาย เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจ

          และเป็นความพยายามที่จะให้เจ้าหน้าที่ตำารวจปฏิบัติตามมาตรฐาน
          สิทธิมนุษยชนต่อบุคคลที่มีสถานภาพและอยู่ในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
          รวมทั้งให้เจ้าหน้าที่ตำารวจได้เข้าใจและตระหนักถึงจริยธรรมและ

          จรรยาบรรณของตำารวจ รวมไปถึงการให้ความคุ้มครองแก่เด็กและเยาวชน
          สิทธิมนุษยชนของสตรี สิทธิมนุษยชนของเหยื่อสิทธิมนุษยชนของผู้ลี้ภัย
          และบุคคลไร้สัญชาติเหล่านี้ อีกส่วนหนึ่งด้วย

                ส่วนที่สาม  เป็นเรื่องเกี่ยวกับแนวทางในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่

          ตำารวจในด้านต่างๆ ตามหลักสิทธิมนุษยชน รวมไปถึงผู้บังคับใช้กฎหมายอื่นๆ
          เช่น ผู้ช่วยเจ้าพนักงานตำารวจ อาสาสมัครที่ช่วยเหลือเจ้าพนักงานตำารวจ
          ตำารวจบ้านฯ เหล่านี้ซึ่งเป็นการใช้ความรู้ความเข้าใจมาปฏิบัติงานในแต่ละ
          ขั้นตอนอย่างถูกต้องชอบธรรมและไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดังกล่าว


                ที่สำาคัญในคู่มือเล่มนี้ยังได้พยายามเพิ่มเติมในเรื่องของข้อควรระวัง
          แนวทางปฏิบัติ รวมทั้งแนวคำาพิพากษาศาลฎีกาที่สำาคัญๆ ที่สามารถที่
          จะเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำารวจเพื่อมิให้ละเมิดสิทธิ
          ของประชาชนดังกล่าวมาแล้วอีกส่วนหนึ่งด้วย










                                        ณ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25