Page 164 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 164
มีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์,สิทธิในการได้รับข้อมูลและการเข้าถึงการศึกษา หรือ สิทธิในการได้รับความเป็น
ส่วนตัว)
๔. ข้อมูลส ำหรับกำรตัดสินใจที่จะตั้งครรภ์ต่อ หรือยุติกำรตั้งครรภ์เพียงพอและรอบด้ำนหรือไม่
อย่ำงไร
๔.๑ คุณได้รับข้อมูลอะไรบ้างเกี่ยวกับทางออกของการท้องไม่พร้อม (ถามเพื่อให้สรุปข้อมูลที่ได้รับ
จากแหล่งต่างๆ)
-ข้อมูลที่ได้รับเพียงพอกับการตัดสินใจหรือไม่ อย่างไร
-มีข้อมูลที่ต้องการเพิ่มเติมอีกไหม เกี่ยวกับอะไร
๔.๒ คุณมีการแสวงหาข้อมูลหรือบริการหรือความช่วยเหลือรูปแบบอื่นๆ เพิ่มเติมอีกบ้างไหม จาก
ที่ไหน อย่างไร
๔.๓ คุณมีทางเลือกในชีวิตอย่างไรบ้าง
๔.๔ การตัดสินใจยุติตั้งครรภ์นี้คุณเป็นคนเลือกเองหรือไม่ (ถ้าไม่) ใครเป็นผู้ตัดสินใจให้/เป็นผู้มี
อิทธิพลต่อการตัดสินใจ เมื่อตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์แล้ว คุณรู้สึกอย่างไร
๕. ชุดประสบกำรณ์ของเยำวชนชำยด้ำนกำรได้รับบริกำร กำรอยู่ร่วมกับครอบครัว/ชุมชน/
สถำบันกำรศึกษำ/สังคม
๕.๑ ได้พยายามท าอย่างอื่นก่อนที่จะยุติการตั้งครรภ์ส าเร็จในครั้งนี้ไหม ท าอย่างไรบ้าง ผลเป็น
อย่างไร แต่ละครั้งรู้มาจากใคร ครั้งนี้ใช้วิธีไหน ใครท าให้ ท าอย่างไร ท าที่ไหน เสียค่าใช้จ่ายไหม เท่าไหร่
จ่ายเองหรือมีคนช่วย เวลาแฟนไปมีใครไปด้วยไหม มีการให้ค าปรึกษาไหม ท่าทีของคนที่ให้ค าปรึกษาเป็น
อย่างไร รักษาความลับของแฟนคุณหรือไม่ พูดอะไรกับแฟนคุณบ้าง แฟนได้พูดคุยกับเขาก่อน/หลังท า
หรือไม่ มีอะไรที่อยากรู้ตอนนั้นแล้วไม่ได้รับค าตอบบ้างไหม เมื่อแฟนท าเสร็จแล้วคุณรู้สึกอย่างไร
๕.๒ ในฐานะที่เคยมีประสบการณ์ บริการที่คุณต้องการได้รับอย่างเร่งด่วนในทันทีที่รู้ว่าแฟน
ตั้งครรภ์คืออะไร อยากมีใครคุยด้วยไหม อยากให้คนๆนั้นมีบุคลิกลักษณะอย่างไร อยากให้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล หรือบ้านพักพิง ให้ความช่วยเหลือในเรื่องใด อย่างไร และรัฐบาลหรือ
สังคมควรมีนโยบายในการดูแลแก้ไขและป้ องกันปัญหาเยาวชนหญิงท้องไม่พร้อม อย่างไรบ้าง
๕.๓ คุณมีอะไรที่อยากจะคุยให้ฟังเพิ่มเติมไหม หรืออยากจะถามอะไรไหมคะ
ข-๑๐