Page 63 - คู่มือการเขียนหนังสือราชการ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 63

คู่มือการเขียนหนังสือราชการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  ๕๑                                                                คู่มือการเขียนหนังสือราชการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  ๕๑




                                                                                                                                                                                          บทที่ 10                                                                                                                                 บทที่ 10

                                                                                                                                                                                การใช้เครื่องหมายในการพิมพ์                                                                                                              การใช้เครื่องหมายในการพิมพ์



                                                                                                                                                        ผู้พิมพ์ควรมีความระมัดระวังในการพิมพ์ คือ พิมพ์ไม่ตก มีความรู้ในตัวสะกดการันต์ ตัวย่อ และมี                                              ผู้พิมพ์ควรมีความระมัดระวังในการพิมพ์ คือ พิมพ์ไม่ตก มีความรู้ในตัวสะกดการันต์ ตัวย่อ และมี

                                                                                                                                                 ความรู้รอบตัวนอกเหนือจากการพิมพ์หนังสือ เช่น เข้าใจข้อความในหนังสือนั้น จัดวรรคตอนได้ถูกต้อง                                             ความรู้รอบตัวนอกเหนือจากการพิมพ์หนังสือ เช่น เข้าใจข้อความในหนังสือนั้น จัดวรรคตอนได้ถูกต้อง
                                                                                                                                                 เมื่อจําเป็น รู้หลักภาษา รู้แบบหนังสือราชการ ชื่อส่วนราชการ ชื่อและตําแหน่งในวงราชการรู้จักและ                                           เมื่อจําเป็น รู้หลักภาษา รู้แบบหนังสือราชการ ชื่อส่วนราชการ ชื่อและตําแหน่งในวงราชการรู้จักและ
                                                                                                                                                 อ่านลายมือผู้ร่างที่เกี่ยวข้องได้ดี วางรูปหนังสือ สามารถจัดลําดับและแบ่งงานให้เหมาะสม และรู้จักรักษา                                     อ่านลายมือผู้ร่างที่เกี่ยวข้องได้ดี วางรูปหนังสือ สามารถจัดลําดับและแบ่งงานให้เหมาะสม และรู้จักรักษา

                                                                                                                                                 เครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้พิมพ์                                                                                          เครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้พิมพ์
                                                                                                                                                          ๑. การพิมพ์หนังสือราชการที่ต้องใช้กระดาษครุฑ ถ้ามีข้อความมากกว่า ๑ หน้า หน้าต่อไปให้ใช้                                                  ๑. การพิมพ์หนังสือราชการที่ต้องใช้กระดาษครุฑ ถ้ามีข้อความมากกว่า ๑ หน้า หน้าต่อไปให้ใช้
                                                                                                                                                 กระดาษไม่ต้องมีตราครุฑ แต่ให้มีคุณภาพเช่นเดียวหรือใกล้เคียงกับแผ่นแรก การพิมพ์กระดาษ ขนาด เอ ๔                                           กระดาษไม่ต้องมีตราครุฑ แต่ให้มีคุณภาพเช่นเดียวหรือใกล้เคียงกับแผ่นแรก การพิมพ์กระดาษ ขนาด เอ ๔
                                                                                                                                                 บรรทัดแรกของกระดาษควรอยู่ห่างจากขอบกระดาษด้านบน ประมาณ ๓ เซนติเมตร                                                                       บรรทัดแรกของกระดาษควรอยู่ห่างจากขอบกระดาษด้านบน ประมาณ ๓ เซนติเมตร

                                                                                                                                                          ๒. ให้กั้นระยะห่างจากขอบกระดาษด้านซ้ายมือ ประมาณ ๓ เซนติเมตร เพื่อความสะดวกในการ                                                         ๒. ให้กั้นระยะห่างจากขอบกระดาษด้านซ้ายมือ ประมาณ ๓ เซนติเมตร เพื่อความสะดวกในการ
                                                                                                                                                 เก็บเข้าแฟ้มตัวอักษรสุดท้ายควรห่างจากขอบกระดาษด้านขวาไม่น้อยกว่า ๒ เซนติเมตร                                                             เก็บเข้าแฟ้มตัวอักษรสุดท้ายควรห่างจากขอบกระดาษด้านขวาไม่น้อยกว่า ๒ เซนติเมตร
                                                                                                                                                          ๓. การเว้นวรรคระหว่างข้อเรื่องกับเรื่อง ให้เว้น ๒ เคาะ หลังจากพิมพ์หัวข้อแล้ว ให้เคาะ ๒ ครั้ง                                            ๓. การเว้นวรรคระหว่างข้อเรื่องกับเรื่อง ให้เว้น ๒ เคาะ หลังจากพิมพ์หัวข้อแล้ว ให้เคาะ ๒ ครั้ง
                                                                                                                                                 พิมพ์ข้อความต่อไป เช่น                                                                                                                   พิมพ์ข้อความต่อไป เช่น

                                                                                                                                                            ข้อ ๑  โครงการสัมมนาเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล                                                                                              ข้อ ๑  โครงการสัมมนาเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
                                                                                                                                                            ข้อ ๒  โครงการสัมมนาเจ้าหน้าที่ธุรการ                                                                                                    ข้อ ๒  โครงการสัมมนาเจ้าหน้าที่ธุรการ
                                                                                                                                                          ๔. การพิมพ์ไม้ยมก (ๆ) ไม่ต้องเคาะก่อนพิมพ์ไม้ยมก แต่เคาะ ๑ ก่อนพิมพ์ข้อความต่อไป เช่น                                                    ๔. การพิมพ์ไม้ยมก (ๆ) ไม่ต้องเคาะก่อนพิมพ์ไม้ยมก แต่เคาะ ๑ ก่อนพิมพ์ข้อความต่อไป เช่น
                                                                                                                                                 เรื่องต่างๆ ที่ได้รับการพิจารณาแล้ว                                                                                                      เรื่องต่างๆ ที่ได้รับการพิจารณาแล้ว

                                                                                                                                                          ๕. ก่อนจะพิมพ์วงเล็บ (...) ให้เคาะ ๑ ก่อนเปิดวงเล็บ และปิดวงเล็บให้เคาะ ๑ เสมอเช่น เป็น                                                  ๕. ก่อนจะพิมพ์วงเล็บ (...) ให้เคาะ ๑ ก่อนเปิดวงเล็บ และปิดวงเล็บให้เคาะ ๑ เสมอเช่น เป็น
                                                                                                                                                 เงิน ๒๐๐ บาท (สองร้อยบาทถ้วน) ตามใบเสร็จ...                                                                                              เงิน ๒๐๐ บาท (สองร้อยบาทถ้วน) ตามใบเสร็จ...
                                                                                                                                                          ๖. การพิมพ์ตัวหนังสือที่มีไปยาลน้อย (ฯ) ไม่ต้องเคาะก่อนพิมพ์ไปยาลน้อย แต่เคาะ ๑ หลังพิมพ์                                                ๖. การพิมพ์ตัวหนังสือที่มีไปยาลน้อย (ฯ) ไม่ต้องเคาะก่อนพิมพ์ไปยาลน้อย แต่เคาะ ๑ หลังพิมพ์

                                                                                                                                                 แล้ว เช่น ฉันจะออกเดินทางจากกรุงเทพฯ เวลา ๐๑.๐๐ นาฬิกา                                                                                   แล้ว เช่น ฉันจะออกเดินทางจากกรุงเทพฯ เวลา ๐๑.๐๐ นาฬิกา
                                                                                                                                                          ๗. การพิมพ์ที่มีตัวเลขโดยทั่วไปให้เคาะหน้า ๑ เคาะ และเคาะหลัง ๑ เคาะเสมอ เช่น จํานวน                                                     ๗. การพิมพ์ที่มีตัวเลขโดยทั่วไปให้เคาะหน้า ๑ เคาะ และเคาะหลัง ๑ เคาะเสมอ เช่น จํานวน
                                                                                                                                                 ๑๐๐ บาท และการพิมพ์จํานวนเลขที่เกิน ๓ หลัก ให้พิมพ์จุลภาค (,) ระหว่างหลักพันกับหลักร้อยเช่น                                              ๑๐๐ บาท และการพิมพ์จํานวนเลขที่เกิน ๓ หลัก ให้พิมพ์จุลภาค (,) ระหว่างหลักพันกับหลักร้อยเช่น
                                                                                                                                                 นายแดงให้เงินฉัน จํานวน ๒,๕๐๐ บาท และถ้าพิมพ์ตัวเลขที่เกี่ยวกับการเงินควรพิมพ์ทศนิยม (.)                                                 นายแดงให้เงินฉัน จํานวน ๒,๕๐๐ บาท และถ้าพิมพ์ตัวเลขที่เกี่ยวกับการเงินควรพิมพ์ทศนิยม (.)
                                                                                                                                                 และยัติภังค์ (-) ไว้ด้วย เช่น  จํานวน -๒,๕๐๐.๐๐ บาท                                                                                      และยัติภังค์ (-) ไว้ด้วย เช่น  จํานวน -๒,๕๐๐.๐๐ บาท

                                                                                                                                                          ๘. เครื่องหมายคําพูด “......” ก่อนพิมพ์เครื่องหมายคําพูดเปิดให้เคาะ ๑ เมื่อพิมพ์และ                                                      ๘. เครื่องหมายคําพูด “......” ก่อนพิมพ์เครื่องหมายคําพูดเปิดให้เคาะ ๑ เมื่อพิมพ์และ
                                                                                                                                                 ปิดเครื่องหมายคําพูด ให้เคาะ ๑ ก่อนพิมพ์ข้อความต่อไป เช่น อยากบอกว่า “ฉันรักเธอ” เท่าฟ้า                                                 ปิดเครื่องหมายคําพูด ให้เคาะ ๑ ก่อนพิมพ์ข้อความต่อไป เช่น อยากบอกว่า “ฉันรักเธอ” เท่าฟ้า
                                                                                                                                                          ๙. การใช้ไปยาลใหญ่ ฯลฯ เคาะหน้าก่อนพิมพ์ ๑ เคาะ และเคาะหลังเมื่อพิมพ์แล้ว ๑ เคาะ                                                         ๙. การใช้ไปยาลใหญ่ ฯลฯ เคาะหน้าก่อนพิมพ์ ๑ เคาะ และเคาะหลังเมื่อพิมพ์แล้ว ๑ เคาะ

                                                                                                                                                 ก่อนพิมพ์ข้อความต่อไป เช่น ทุเรียน มังคุด ละมุด ขนุน ฯลฯ นอกจากนี้.......                                                                ก่อนพิมพ์ข้อความต่อไป เช่น ทุเรียน มังคุด ละมุด ขนุน ฯลฯ นอกจากนี้.......
                                                                                                                                                          ๑๐. ไม่ต้องเคาะเมื่อต้องการพิมพ์เปอร์เซ็นต์ เช่น ๑๕% แต่เคาะ ๑ ก่อนพิมพ์ข้อความต่อไป เช่น                                                ๑๐. ไม่ต้องเคาะเมื่อต้องการพิมพ์เปอร์เซ็นต์ เช่น ๑๕% แต่เคาะ ๑ ก่อนพิมพ์ข้อความต่อไป เช่น
                                                                                                                                                 ประชาชนจํานวน ๔๕% ไม่ไปลงคะแนนเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร                                                                         ประชาชนจํานวน ๔๕% ไม่ไปลงคะแนนเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68