Page 98 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 98

๘๓


                                          -   ประมวลกฎหมายสหรัฐ (United States Code (USC)) ซึ่งได้ก่าหนด

                   หลักการที่ส่าคัญไว้ใน มาตรา ๒๗๗ ซึ่งมีสาระส่าคัญเกี่ยวกับการรบกวนทางโทรศัพท์ โทรเลข และวิทยุ
                   โทรเลข (ภาษาอังกฤษ) และมาตรา ๖๑๐๒ ซึ่งมีสาระส่าคัญเกี่ยวกับการตลาดทางไกล (ภาษาอังกฤษ)

                                             - ประมวลกฎเกณฑ์แห่งสหพันธรัฐ (Code of Federal Regulations

                   (CFR)) ในบรรพ ๔๗ ส่วนที่ ๖๔ (Part 64) ว่าด้วยข้อจ่ากัดเกี่ยวกับการตลาดทางไกล การเรียกร้องทาง
                   โทรศัพท์ และการโฆษณาทางโทรสาร ซึ่งบัญญัติให้สิทธิผู้ที่ได้รับการติดต่อสามารถแสดงความประสงค์

                   ว่าจะไม่รับการติดต่อเช่นนั้นในอนาคตอีกต่อไป (Opt out) หรือบัญญัติหลักการคุ้มครองสิทธิผู้ได้รับการ
                   ติดต่อในเชิงป้องกัน ได้แก่ การน่าระบบการขึ้นทะเบียนหมายเลขโทรศัพท์ที่ไม่ประสงค์ได้รับการติดต่อ

                   (Do-not-call register)
                                             อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาบทบัญญัติและเจตนารมณ์ของบทบัญญัติ

                   มาตรา ๓๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แล้ว จะเห็นได้ว่า การติดต่อ

                   เพื่อขายสินค้า เช่น การโทรศัพท์ การส่งข้อความสั้นทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ การส่งข้อความทางไปรษณีย์
                   อิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้ที่ได้รับการติดต่อนั้น มิได้ให้ความยินยอมด้วย ก่อให้เกิดความเดือดร้อนร่าคาญ

                   แก่ผู้ที่ได้รับการติดต่อ และผู้ที่ได้รับการติดต่ออาจเสียที่จะต้องตอบปฏิเสธนั้น เป็นการกระท่าที่กระทบ

                   ต่อสิทธิความเป็นอยู่ส่วนตัวอย่างชัดเจน
                                         (๔) สรุป

                                                การที่ผู้ประกอบธุรกิจติดต่อหรือส่งข้อความเพื่อขายสินค้าหรือบริการ

                   แก่บุคคลอันก่อให้เกิดความเดือดร้อนร่าคาญ โดยได้รับข้อมูลส่วนตัวของบุคคลตามกรณีศึกษา ย่อมเป็น
                   การแทรกแซงสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัวเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลและที่พักอาศัย การกระท่าดังกล่าวจึง

                   เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุคคลอื่น


                                 ๔.๒.๕ กรณีการเปิดภาพยนตร์หรือเพลงบนในรถโดยสารระหว่างจังหวัดอันเป็นการ

                   รบกวนผู้โดยสาร
                                         (๑) ข้อเท็จจริง

                                         ผู้ประกอบกิจการรถโดยสารระหว่างจังหวัดมักจะเปิดภาพยนตร์หรือเพลงบน
                   รถโดยสารประจ่าทางระหว่างจังหวัดซึ่งมีระยะเวลาการเดินทางค่อนข้างยาวนาน การกระท่าดังกล่าว

                   อาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนร่าคาญแก่ผู้โดยสารที่ประสงค์จะเดินทางด้วยความสงบหรือปราศจากเสียง

                   รบกวน
                                         (๒) ประเด็นปัญหาทางกฎหมาย

                                         ประเด็นที่หนึ่ง การเดินทางในระยะทางไกลโดยสงบหรือปราศจากเสียง

                   รบกวนมีลักษณะเป็นสิทธิของบุคคลอันเกี่ยวด้วยสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัวหรือไม่
                                         ประเด็นที่สอง การที่คนขับรถโดยสารระหว่างจังหวัดเปิดภาพยนตร์หรือเพลง

                   บนรถโดยสารประจ่าทางระหว่างจังหวัดซึ่งมีระยะเวลาการเดินทางค่อนข้างยาวนาน อันก่อให้เกิด
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103