Page 116 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 116
๑๐๑
ที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ กล่าวคือ
หากการติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดในห้องขังของผู้ต้องขัง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันมิให้ผู้ต้องขัง
ถูกผู้อื่นท่าร้ายหรือท่าร้ายตัวเองในระหว่างที่ถูกคุมขัง รวมทั้งเพื่อใช้เป็นเครื่องมือหรือเป็นอุปกรณ์เสริม
ส่าหรับช่วยเหลือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยยิ่งขึ้น ย่อมถือได้ว่า
วัตถุประสงค์ดังกล่าวเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ มิใช่เฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่ง อย่างไรก็ตาม
การด่าเนินการดังกล่าวอยู่ภายใต้เงื่อนไขสองประการ คือ ต้องแจ้งให้บุคคลเหล่านั้นได้ทราบล่วงหน้า
ว่าบริเวณใดมีกล้องโทรทัศน์วงจรปิดติดตั้งไว้ และระบุหน่วยงานและบุคคลผู้รับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน
และเปิดเผย และต้องมีกลไกที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมมิให้ภาพหรือข้อความจากกล้องโทรทัศน์
วงจรปิดถูกน่าไปเผยแพร่สู่สาธารณชน
โดยนัยดังกล่าว หากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความมั่นคง
ของประเทศ หรือการรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน จ่าเป็นที่จะต้องมีการติดตั้งกล้องวงจรปิด
เพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว จะต้องด่าเนินการโดยมีกฎหมายให้อ่านาจหน้าที่ในการด่าเนินการเช่นนั้น
การด่าเนินการเช่นนั้นจะต้องจ่ากัดเฉพาะในกรณีที่จ่าเป็นจริงๆ โดยต้องชั่งน้่าหนักระหว่างการคุ้มครอง
สิทธิความเป็นอยู่ส่วนตัวของผู้ต้องขังกับประโยชน์สาธารณะที่รัฐมีหน้าที่ต้องคุ้ มครอง
และการด่าเนินการจะต้องใช้มาตรการที่เหมาะสมและเป็นการแทรกแซงสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
ของผู้ต้องขังโดยน้อยที่สุด ภายใต้หลักความพอสมควรแก่เหตุหรือหลักความได้สัดส่วน นอกจากนี้
ยังจะต้องมีการแจ้งเตือนด้วยการท่าสัญลักษณ์หรือระบุเป็นลายลักษณ์อักษรให้ชัดเจนและเป็นที่สังเกต
ได้ง่ายว่าเป็นพื้นที่ที่มีการติดกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
(๔) สรุป
การที่จะติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิดในห้องขังของผู้ต้องขังก็ดี
หรือการติดกล้องโทรทัศน์วงจรปิดในโรงภาพยนตร์ เป็นการแทรกแซงสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
ของผู้ต้องขังหรือของผู้มาใช้บริการของโรงภาพยนตร์ อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู้ต้องขัง
หรือบุคคล แต่หากการด่าเนินการดังกล่าวเป็นการปฏิบัติตามอ่านาจหน้าที่ตามกฎหมายเพื่อประโยชน์
สาธารณะ เป็นสิ่งจ่าเป็นเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว และได้สัดส่วนกับวัตถุประสงค์นั้น
กรณีการกระท่าเช่นนั้นจึงไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู้ต้องขัง