Page 110 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 110
๙๕
ประเด็นที่สาม การด่าเนินการดังกล่าวเป็นการด่าเนินการตามอ่านาจ
หน้าที่ตามกฎหมายโดยองค์กรของรัฐเพื่อประโยชน์สาธารณะ เป็นสิ่งจ่าเป็นเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
ดังกล่าว และได้สัดส่วนกับวัตถุประสงค์นั้น อันเข้าข้อยกเว้นของการแทรกแซงสิทธิในความเป็นอยู่
ส่วนตัวของผู้ต้องขังโดยชอบด้วยกฎหมาย หรือไม่
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๓๖
ซึ่งบัญญัติว่า
“บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบด้วยกฎหมาย
การตรวจ การกัก หรือการเปิดเผยสิ่งสื่อสารที่บุคคลมีติดต่อถึงกัน รวมทั้ง
การกระท าด้วยประการอื่นใดเพื่อให้ล่วงรู้ถึงข้อความในสิ่งสื่อสารทั้งหลายที่บุคคลมีติดต่อถึงกัน จะ
กระท ามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอ านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ
หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน”
นอกจากนี้ ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน
เกี่ยวกับการขอลากิจ การขอย้ายกลับภูมิล่าเนาให้ผู้ต้องขัง และการบริหารรับส่งจดหมายของผู้ต้องขัง
พ.ศ. ๒๕๔๖ ยังได้ก่าหนดในข้อ ๗ การพิจารณาเรื่องการบริการรับส่งจดหมายของผู้ต้องขัง มีขั้นตอน
และระยะเวลาในการด่าเนินการ ดังนี้
ขั้นตอนที่ ๑ เรือนจ่า/ทัณฑสถาน ได้รับจดหมายที่ส่งถึงผู้ต้องขัง หรือที่
ผู้ต้องขังส่งถึงบุคคลอื่น หรือหน่วยงานภายนอก
ขั้นตอนที่ ๒
๑. ตรวจสอบพิจารณา ๑ วันท่าการ
๒. น่าส่งเพื่อไปยังบุคคลอื่น หรือหน่วยงานภายนอกหรือน่าจ่ายให้กับ
ผู้ต้องขัง ๑ วันท่าการ กรณีจดหมายภาษาต่างประเทศ ให้ขยายระยะเวลาด่าเนินการออกไป
อีก ๓ วันท่าการ
ดังนั้น แม้ว่าผู้ต้องขังจะเป็นผู้ที่กระท่าการผิดกฎหมายจนเป็นเหตุให้ถูก
คุมขัง แต่การถูกคุมขังหรือการจ่ากัดอิสรภาพดังกล่าวนั้น มิได้ท่าให้ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของผู้ต้องขัง
นั้นลดลงแต่อย่างใด ผู้ต้องขังก็ยังมีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นได้ เพียงแต่ต้องอยู่
ภายใต้กรอบที่กฎหมายก่าหนด ได้แก่ ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน
เกี่ยวกับการขอลากิจ การขอย้ายกลับภูมิล่าเนาให้ผู้ต้องขัง และการบริหารรับส่งจดหมายของผู้ต้องขัง
พ.ศ. ๒๕๔๖ เนื่องจาก ผู้ต้องขังเป็นผู้ที่จะต้องมีการควบคุมความประพฤติและจ่าเป็นจะต้องมีการบ่าบัด
ฟื้นฟูพฤติกรรมเพื่อให้สามารถออกไปใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุขในสังคมต่อไป โดยการตรวจสอบจดหมาย
ของผู้ต้องขังนั้นเป็นการกระท่าเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อย
หรือศีลธรรมอันดีของประชาชนอันเป็นข้อยกเว้นตามมาตรา ๓๖ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
แต่มีประเด็นเกี่ยวเนื่องที่จ่าเป็นต้องได้รับการพิจารณาต่อไปว่าการท่าเครื่องหมายบนซองจดหมาย