Page 12 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 12

บทสรุปผู้บริหาร













                      รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ประจ�าปีงบประมาณ
                   พ.ศ. 2565 เป็นการด�าเนินการตามบทบัญญัติมาตรา 45 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
                   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 รายงานครอบคลุมผลการปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม
                   2564 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2565 ซึ่งในการด�าเนินงาน กสม. ให้ความส�าคัญกับการปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมาย

                   บัญญัติ การตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ กสม. และแนวนโยบายพื้นฐานของ กสม. ชุดที่ 4 โดยประสาน
       รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
                   ความร่วมมือกับภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อร่วมสร้างสังคมที่เคารพสิทธิมนุษยชน และมีผลการด�าเนินงาน
                   ที่ส�าคัญสรุปได้ ดังนี้



                      ด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ในปีงบประมาณ   รวม 169 ค�าร้อง เป็นเรื่องที่มีการกระท�าหรือละเลย
                   พ.ศ. 2565 กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนกรณีกล่าวอ้าง  การกระท�าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนและ
                   ว่ามีการกระท�าหรือละเลยการกระท�าอันเป็น  กสม. มีข้อเสนอแนะเพื่อป้องกันแก้ไขการละเมิด
                   การละเมิดสิทธิมนุษยชน 1,149 เรื่อง รับไว้ด�าเนินการ   สิทธิมนุษยชนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 88 ค�าร้อง

                   924 เรื่อง (คิดเป็นร้อยละ 80.42) และไม่รับไว้ (คิดเป็นร้อยละ 52.07) เป็นเรื่องที่ไม่พบการละเมิด
                   ด�าเนินการเนื่องจากไม่อยู่ในหน้าที่และอ�านาจของ  สิทธิมนุษยชนแต่ กสม. มีข้อเสนอแนะในการส่งเสริม
                   กสม. หรืออยู่ในอ�านาจหน้าที่ขององค์กรอิสระอื่น   และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนไปยังหน่วยงาน 57 ค�าร้อง
                   225 เรื่อง (คิดเป็นร้อยละ 19.58) เรื่องร้องเรียน  (คิดเป็นร้อยละ 33.73) และเป็นเรื่องที่มีการฟ้องร้อง

                   ที่รับไว้ด�าเนินการแบ่งเป็น 1) การประสานการคุ้มครอง  เป็นคดีอยู่ในศาลหรือเรื่องที่ศาลมีค�าพิพากษา และ
                                                                                              1
                   สิทธิมนุษยชน 164 เรื่อง (คิดเป็นร้อยละ 17.75)   ไม่อยู่ในหน้าที่และอ�านาจของ กสม.  หรือเป็นเรื่อง
                   2) การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน 236 เรื่อง   ที่ส่งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาด�าเนินการ
                   (คิดเป็นร้อยละ 25.54) 3) การศึกษาเพื่อจัดท�า  หรือไม่มีประเด็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน 24 ค�าร้อง

                   ข้อเสนอแนะในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ  (คิดเป็นร้อยละ 14.20)
                   มนุษยชน 29 เรื่อง (คิดเป็นร้อยละ 3.14) และ
                   4) การให้ความช่วยเหลืออื่น ๆ 495 เรื่อง (คิดเป็น  นอกจากนี้ กสม. ได้ติดตามผลการด�าเนินการตาม
                   ร้อยละ 53.57) ประเด็นที่มีการร้องเรียนมากที่สุด   ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการป้องกัน

                   3  อันดับแรก  ได้แก่  สิทธิและสถานะบุคคล   หรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน  หรือใน
                   สิทธิในกระบวนการยุติธรรม และสิทธิชุมชน        การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในรายงานของ
                                                                 กสม. ซึ่งได้มีการยุติการติดตามรวม 146 ค�าร้อง
                      ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กสม. ได้จัดท�ารายงาน  โดยพบว่าหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนได้ด�าเนินการ

                   ผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนเสร็จสิ้น ตามข้อเสนอแนะของ กสม. ทั้งหมดหรือบางส่วน



                   1   ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 39



       10
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17