Page 72 - รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ฉบับสมบูรณ์)
P. 72

รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดท าข้อเสนอแนะ มาตรการ หรือแนวทางในการส่งเสริมและ
               คุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน


                              −  ออกกฎหมายคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อสงวนพื้นที่ท าการเกษตรที่มีความอุดม

                                 สมบูรณ์ไว้มิให้เปลี่ยนสภาพการใช้ที่ดินเพื่อกิจกรรมอื่น
                              −  เร่งรัดด าเนินการและประกาศใช้ผังเมืองรวมที่อยู่ในระหว่างด าเนินการให้แล้วเสร็จ

                                 เพื่อให้การใช้ที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยและชุมชนตรงกับหลักการวางผังเมือง

                              −  ให้มีการพัฒนาในเขตป่าเศรษฐกิจ โดยเน้นให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา
                                 โดยเฉพาะในการปลูกสร้างสวนป่า

                              −  เพิกถอนสภาพป่าไม้ถาวรและป่าสงวนแห่งชาติ บริเวณที่ราษฎรบุกรุกเข้าอยู่อาศัยจนมี
                                 อาคารบ้านเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างถาวร หรือเป็นที่ตั้งของสถานที่ราชการ และให้

                                 กรรมสิทธิ์แก่ผู้ที่ครอบครองอยู่ในปัจจุบัน ตามขั้นตอนที่เหมาะสมและตามสภาพของ
                                 พื้นที่

                              −  ให้กรมประชาสงเคราะห์และกรมส่งเสริมสหกรณ์ เร่งด าเนินการจัดที่ดินที่ยังเหลืออยู่ให้

                                 แล้วเสร็จภายในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 โดยให้ความส าคัญกับการส ารวจรังวัด การบรรจุ
                                 สมาชิกนิคมและการออกเอกสารสิทธิ

                              −  เร่งกระจายสิทธิการถือครองเป็นอันดับแรกก่อนการพัฒนาและขยายการปฏิรูปที่ดินในที่

                                 ของเอกชนให้มากขึ้น
                              −  ให้ปรับปรุงระบบแผนที่ให้เป็นระบบเดียวกัน

                              −  ทบทวนและแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ มติต่างๆ และองค์กรในการจัดที่ดิน เพื่อ
                                 แก้ไขความแตกต่างในด้านสิทธิที่ดิน ขนาดของที่ดิน ระดับในการพัฒนาและปัญหาใน

                                 การจัดที่ดิน
                              −  น าพื้นที่ป่าไม้ที่ถูกบุกรุกที่เหลือจากการก าหนดเป็นพื้นที่ป่าอนุรักษ์และป่าเศรษฐกิจ

                                 ที่สาธารณประโยชน์ และที่รกร้างว่างเปล่าที่มีประชาชนบุกรุกเข้าท ากินมาจัดให้แก่

                                 ราษฎร โดยค านึงถึงความเหมาะสมของดินเป็นหลัก
                              −  ท าการโยกย้ายเกษตรกรที่อาศัยท ากินอยู่ในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมต่อการเกษตร หรือเขต

                                 สงวน หวงห้ามไปอยู่ในที่ที่เหมาะสม โดยให้สิทธิการท าประโยชน์ประมาณ 5-10 ปี

                                 เพื่อให้การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานโดยรัฐเสร็จสิ้น
                              −  ให้มีการพัฒนาปัจจัยขั้นพื้นฐานควบคู่ไปกับการจัดที่ดิน

                              −  ชะลอการให้กรรมสิทธิ์ที่ดินในระยะแรก โดยควรให้สิทธิการท าประโยชน์ประมาณ 5-10
                                 ปี จึงให้กรรมสิทธิ์ที่สมบูรณ์ หรือก าหนดเงื่อนไขที่เหมาะสม

                              −  ให้จัดท าโครงการ เป้าหมาย และแผนงานรวมจัดที่ดินของประเทศ และแบ่งให้แต่ละ
                                 หน่วยงานรับผิดชอบตามความเหมาะสม

                              −  จัดตั้งสถาบันการเงินในรูปของธนาคารที่ดิน เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนสนับสนุนการ

                                 ด าเนินงานจัดที่ดินและการปฏิรูปที่ดิน เพื่อให้การจัดที่ดินและการปฏิรูปที่ดินเป็นไป





               2-54                                                             สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77