Page 64 - รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ฉบับสมบูรณ์)
P. 64

รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดท าข้อเสนอแนะ มาตรการ หรือแนวทางในการส่งเสริมและ
               คุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน


                              −  เป็นกฎหมายเพียงฉบับเดียวที่สามารถให้กรรมสิทธิ์ในที่ดินแก่ประชาชน

                            พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511


                              −  เป็นกฎหมายซึ่งให้อ านาจรัฐบาลในการจัดที่ดินของรัฐ เพื่อให้ประชาชนมีที่ตั้งเคหสถาน
                                 และประกอบอาชีพเป็นหลักแหล่ง โดยการออกพระราชกฤษฎีกาและมีแผนที่ก าหนด

                                 แนวเขตที่ดินจัดตั้งเป็นนิคม

                              −  การจัดที่ดินมีสองรูปแบบ คือ (1) การจัดที่ดินในรูปนิคมสร้างตนเอง โดยกรมพัฒนา
                                 สังคมและสวัสดิการ และ (2) การจัดที่ดินในรูปของนิคมสหกรณ์ โดยกรมส่งเสริม

                                 สหกรณ์
                              −  มีการตั้งคณะกรรมการคัดเลือกสมาชิกนิคมและจัดที่ดินให้แต่ละครอบครัวไม่เกิน 50 ไร่

                              −  สมาชิกนิคมจะได้รับสิทธิในที่ดินก็ต่อเมื่อได้ท าประโยชน์ในที่ดินติดต่อกัน เป็นเวลาเกิน

                                 5 ปี และช าระค่าช่วยทุนและหนี้สินเรียบร้อย จะได้รับหนังสือแสดงการท าประโยชน์
                                 ซึ่งสามารถน าไปยื่นขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินได้

                              −  หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน จะมีข้อห้ามโอนไปยังผู้อื่นเป็นเวลา
                                 5 ปี นับแต่วันที่ได้รับ โดยยกเว้นการตกทอดแก่ทายาทหรือโอนไปยังสหกรณ์ที่ตนเอง

                                 เป็นสมาชิก

                            พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


                              −  บัญญัติขึ้นเพื่อปรับปรุงสิทธิและการถือครองในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวมถึงสิทธิอยู่
                                 อาศัยในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

                              −  โดยส านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจน าเอาที่ดินของรัฐประเภท

                                 ที่สาธารณะ ที่ราชพัสดุ ที่รกร้างว่างเปล่า และป่าสงวนเสื่อมสภาพ รวมทั้งการจัดซื้อหรือ
                                 เวนคืนที่ดินจากเอกชนมาด าเนินการปฏิรูปที่ดิน และจัดให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ดินของ

                                 ตนเอง หรือเกษตรกรที่มีที่ดินไม่เพียงพอแก่การครองชีพ
                              −  สถาบันเกษตรกรได้เช่าซื้อ เช่า หรือเข้าท าประโยชน์โดยรัฐให้ความช่วยเหลือในการ

                                 พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม การปรับปรุงทรัพยากรและปัจจัยการผลิตตลอดจนการผลิต
                                 และการจ าหน่าย

                              −  การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีแผนที่แสดงเขตและ

                                 ระบุท้องที่ที่อยู่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
                              −  นอกจากการจัดที่ดินให้แก่เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกร ส.ป.ก. อาจจัดที่ดินหรือ

                                 อสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลใดเช่า เช่าซื้อ ซื้อ หรือเข้าท าประโยชน์ เพื่อใช้ส าหรับกิจการ

                                 อื่นที่เป็นการสนับสนุนหรือเกี่ยวเนื่องกับการปฏิรูปที่ดินตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง







               2-46                                                             สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69