Page 62 - รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (ฉบับสมบูรณ์)
P. 62

รายงานผลการศึกษาวิจัยเพื่อจัดท าข้อเสนอแนะ มาตรการ หรือแนวทางในการส่งเสริมและ
               คุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน


                                 ในกรณีที่มิใช่เป็นการเพิกถอนเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทั้งหมด ให้มีแผนที่แสดงเขต

                                 ที่เปลี่ยนแปลงไปแนบท้ายพระราชกฤษฎีกา (มาตรา 34)
                              −  ห้ามล่าสัตว์ป่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เว้นแต่จะกระท าเพื่อการศึกษาหรือวิจัยทาง

                                 วิชาการและได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

                                 (มาตรา 36)
                              −  ห้ามเข้าไปในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ และ

                                 ผู้ได้รับอนุญาตให้เข้าไปในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ก าหนดใน
                                 กฎกระทรวง (มาตรา 37)

                              −  ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้ามยึดถือหรือครอบครองที่ดิน หรือปลูก หรือก่อสร้างสิ่งหนึ่ง
                                 สิ่งใด หรือตัด โค่น แผ้วถาง เผาหรือท าลายต้นไม้ หรือพฤกษชาติอื่น หรือขุดหาแร่ ดิน

                                 หิน หรือเลี้ยงสัตว์ หรือปล่อยสัตว์หรือสัตว์ป่า หรือเปลี่ยนแปลงทางน้ า หรือท าให้น้ า

                                 ในล าน้ า ล าห้วย หนอง บึง ท่วมท้น เหือดแห้ง เป็นพิษหรือเป็นอันตรายต่อสัตว์ป่า
                                 (มาตรา 38)

                              −  ก าหนดให้มีคณะกรรมการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ (มาตรา 9) มีอ านาจหน้าที่

                                 ดังต่อไปนี้
                                   ให้ความเห็นชอบในการก าหนดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าตามมาตรา 33 การก าหนดเขต

                                     ห้ามล่าสัตว์ป่าและการก าหนดชนิดหรือประเภทของสัตว์ป่าที่จะห้ามล่าในเขตนั้น
                                     ตามมาตรา 42

                                   ควบคุมให้การเป็นไปตามมาตรา 35 (จัดให้มีหลักเขตและป้าย หรือเครื่องหมายอื่น

                                     แสดงเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าไว้ตามสมควร เพื่อให้ประชาชนเห็นได้ว่าเป็นเขตรักษา
                                     พันธุ์สัตว์ป่า)

                                   ก าหนดกิจการอันพึงกระท าเพื่อประโยชน์ในการบ ารุงรักษาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
                                     และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า

                                   ให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการออกพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง และระเบียบ เพื่อ

                                     ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
                                   ก าหนดหลักเกณฑ์ในการตรวจสอบและติดตามการปฏิบัติการให้เป็นไปตาม

                                     พระราชบัญญัตินี้

                                   ปฏิบัติการอื่นใดที่กฎหมายก าหนดให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการ

                            พระราชบัญญัติสวนป่า พ.ศ. 2535

                              −  เจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้คือ เพื่อส่งเสริมการปลูกสวนป่าเพื่อการค้าในที่ดินของรัฐ

                                 และของเอกชน เป็นการส่งเสริมอาชีพให้ประชาชนมีงานท าและผลิตไม้เพื่อเป็นสินค้า
                                 และเพิ่มพื้นที่ท าไม้ และเพื่อให้ผู้ที่จะท าการปลูกสร้างสวนป่าได้รับสิทธิและประโยชน์




               2-44                                                             สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67