Page 31 - งานเชิดชูเกียรติผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนวันสตรีสากล 2561
P. 31
แม้จะมีเสียงคัดค้านจากชุมชน แต่กระทรวงอุตสาหกรรมได้ให้สัมปทาน
การท�าเหมืองกับบริษัท เขียวเหลือง จ�ากัดเมื่อเดือนสิงหาคม 2558 ในวันที่ 22
ตุลาคม 2558 ชาวบ้าน 386 คน จึงได้ยื่นค�าร้องต่อศาลปกครองจังหวัดเชียงใหม่
ขอให้เพิกถอนใบอนุญาตสัมปทาน และให้ศาลมีค�าสั่งคุ้มครองชั่วคราวไม่ให้มีการ
ท�าเหมืองแร่ในหมู่บ้าน ภายหลังสัมปทานการส�ารวจจะหมดอายุลงในเดือนสิงหาคม
2559 คาดว่าความตึงเครียดระหว่างบรรษัทกับรัฐฝ่ายหนึ่ง กับทางชุมชนจะ
เพิ่มขึ้นต่อไป
แต่ทว่าองค์การบริหารส่วนต�าบลบ้านแหง กลับจัดท�ารายงานเท็จ
โดยอ้างว่าชาวบ้านเห็นชอบ ทั้งที่ชาวบ้านไม่เคยเห็นชอบกับโครงการนี้ และ
ที่ผ่านมาไม่เคยมีการท�าประชาคมเกี่ยวกับการขออนุญาตประทานบัตรเหมืองแร่
ลิกไนต์แต่อย่างใด อีกทั้งพบว่ามีการอนุญาตให้ใช้พื้นที่ป่าไม้กว่าพันไร่ที่ไม่ชอบ
ด้วยกฎหมาย ขณะเดียวกันการจัดท�ารายงานการไต่สวนพื้นที่เหมือง ไม่ได้ระบุ
เส้นทางสาธารณะประโยชน์ ทั้งเส้นทางน�้าและทางบกที่ชาวบ้านเคยได้ใช้ประโยชน์
การต่อสู้ของกลุ่มรักษ์บ้านแหงจึงเริ่มขึ้นเพื่อเรียกร้องสิทธิอันชอบธรรมจาก
ปัญหาการขอสัมปทานนี้ โดยมีสมาชิกในกลุ่มทั้งชายและหญิง รวมกว่า 1,000 คน
แต่ด้วยข้อจ�ากัดของสมาชิกชายในฐานะผู้น�าครอบครัวที่ต้องออกไปท�างานเพื่อหา
รายได้ ท�าให้สมาชิกหญิงซึ่งเป็นกลุ่มแม่บ้านออกมาเคลื่อนไหวในแถวหน้าแทน
“ผู้หญิงท�ำงำนดูแลบ้ำนอยู่กับบ้ำน ท�ำให้มีเวลำในกำรออกมำเคลื่อนไหว
และยังท�ำให้สถำนกำรณ์ไม่รุนแรงเท่ำกับผู้ชำย เวลำเรำไปเรียกร้องควำม
เป็นธรรม เจ้ำหน้ำที่รัฐก็จะไม่ปะทะหรือใช้ควำมรุนแรงเท่ำกับผู้ชำย นอกจำกนี้
ผู้หญิงเวลำคิดท�ำอะไรก็จะทบทวนว่ำจะด�ำเนินกำรอย่ำงไรก่อนด้วย” “วรรณำ
ลำวัลย์” หนึ่งในสมาชิกกลุ่มรักษ์บ้านแหงระบุ
“วรรณา” เล่าว่า สมาชิกในกลุ่มที่เป็นผู้หญิงจะถูกเรียกว่า “สตรีเหล็ก”
อันมีความหมายที่สะท้อนว่า พวกเธอเหล่านี้ลุกขึ้นมาต่อสู้ด้วยความเข้มแข็ง ไม่แพ้
ผู้ชายในการออกมาเรียกร้องสิทธิมนุษยชน
30