Page 44 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 44
บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน
ส่วนที่ ๒ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
๒.๑ อ�านาจหน้าที่ บทที่ ๑
ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔๘
(มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๐) ส�านักงานมีหน้าที่และอ�านาจ ดังต่อไปนี้
(๑) รับผิดชอบงานธุรการและด�าเนินการเพื่อให้คณะกรรมการบรรลุภารกิจและหน้าที่ตามที่ก�าหนดไว้ใน
รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ และกฎหมายอื่น
(๒) อ�านวยความสะดวก ช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการและกรรมการ
(๓) ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และสนับสนุนให้มีการวิจัยเกี่ยวกับงานของคณะกรรมการ รวมทั้งประสาน
งานกับหน่วยงานของรัฐ องค์กรเอกชน หรือองค์กรอื่นใดในด้านสิทธิมนุษยชน เพื่อประโยชน์ในการสนับสนุนภารกิจและ
หน้าที่ของคณะกรรมการ
(๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่มีกฎหมายก�าหนดหรือที่คณะกรรมการมอบหมาย
๒.๒ โครงสร้างองค์กร
ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) แบ่งส่วนราชการภายในและก�าหนดอ�านาจหน้าที่ของ
ส่วนราชการ ตามประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เรื่อง “การแบ่งส่วนราชการภายในและก�าหนดอ�านาจ
หน้าที่ของส่วนราชการในสังกัดส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖” รายละเอียดตามแผนภาพที่ ๑
๒.๓ อัตราก�าลัง
ส�านักงาน กสม. มีบุคลากรปฏิบัติหน้าที่ (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) ได้แก่ ข้าราชการ
พนักงานราชการ พนักงานจ้างเหมาบริการ เลขานุการและผู้ช่วเลขานุการประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและ
กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ดังนี้
ข้าราชการ ๑๔๗
พนักงานราชการ ๕๖
พนักงานจ้างเหมาบริการ ๕๓
เลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการประธานกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติและกรรมการ ๑๒
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
รวม ๒๖๘
หมายเหตุ: * หมายถึง อัตราที่มีคนครอง (คน)
ที่มา: ส�านักบริหารกลาง ส�านักงาน กสม. (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๐)
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ | 43