Page 87 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 1 ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2557
P. 87

85
                                                   ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
                                                   ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เล่ม ๑  ระหว่าง ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗




                                จากตารางข้างต้น เห็นได้ว่า ระบบบริการสาธารณสุข ๓ ระบบ มีความไม่เสมอภาคและ

                     ความเหลื่อมล้ำาระหว่างระบบบริการฯ ดังนี้
                                     ๒.๑)   ระบบหลักประกันสุขภ�พแห่งช�ติ มีขอบเขตอำานาจหน้าที่ครอบคลุมทั้งการ

                     กำาหนดประเภท ขอบเขต และมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุข มาตรฐานของโรงพยาบาล/หน่วย
                     บริการ การเติมหรือเพิ่มสิทธิรับบริการสาธารณสุขของระบบบริการฯ อื่นให้สอดคล้องตามระบบ

                     หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ไม่อาจทำาได้ทันที ต้องกำาหนดเป็นพระราชกฤษฎีกา หรือข้อตกลงกับ
                     คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ทำาให้ผู้มีสิทธิในระบบบริการสาธารณสุขอื่นอาจไม่ได้

                     รับบริการสาธารณสุขบางประการ ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติซึ่งควรเป็นบริการฯ ขั้น
                     พื้นฐานสำาหรับคนทุกคน

                                     ๒.๒)   ก�รจ่�ยเงินให้โรงพย�บ�ล/หน่วยบริก�ร ซึ่งสังกัดกระทรวงสาธารณสุขตาม
                     ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรณีผู้ป่วยนอกใช้วิธีเหมาจ่ายรายหัว ตามจำานวนประชากรใน

                     พื้นที่  โดยกันเงินบางส่วน งบประมาณเหมาจ่ายเป็นเงินเดือนเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล ประกอบกับ
                     โรงพยาบาล/หน่วยบริการดังกล่าวได้รับเงินจากกองทุนภายใต้ระบบบริการอื่นลดลง กล่าวคือ ระบบ

                     สวัสดิการข้าราชการมีควบคุมการชดเชยค่าใช้จ่าย โดยใช้การเหมาจ่ายปลายปิดตามกลุ่มโรคกรณี
                     ผู้ป่วยใน และระบบประกันสังคมมีการแข่งขันจากโรงพยาบาลเอกชนและโรงพยาบาลสังกัดอื่น

                     เป็นผลให้โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขจำานวนไม่น้อยได้รับงบประมาณไม่เพียงพอหรือ
                     ต่ำากว่าต้นทุน มีความสามารถในการแข่งขันลดลง หรือบางแห่งต้องการออกจากการเป็นหน่วยบริการ

                     ประจำา
                                     ๒.๓)   พระร�ชบัญญัติหลักประกันสุขภ�พแห่งช�ติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ม�ตร� ๕ วรรค ๒

                     กำาหนดว่า คณะกรรมการ (หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ) อาจกำาหนดให้บุคคลที่เข้ารับการบริการ
                     สาธารณสุขต้องร่วมจ่ายค่าบริการ .... เว้นแต่ผู้ยากไร้หรือบุคคลอื่นที่รัฐมนตรีกำาหนดไม่ต้องจ่าย

                     ค่าบริการ  ทางปฏิบัติ ได้ใช้การร่วมจ่ายเป็นอัตราคงที่ต่อครั้ง (๓๐ บาท หากมียา) โดยยกเว้นการร่วม
                     จ่ายให้บางกลุ่ม  รวมถึงผู้ไม่ประสงค์จ่ายค่าบริการ ทำาให้การร่วมจ่ายเป็นไปตามความสมัครใจ และ

                     ไม่อาจใช้เป็นกลไกช่วยเหลือผู้ยากจน ผู้ด้อยโอกาสอื่นให้เข้าถึงบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากนัก
                                                                                             ้
                                     ๒.๔)   บริก�รส�ธ�รณสุขภ�ยใต้ระบบประกันสังคมมีคว�มเหลื่อมลำ�จ�กระบบ
                     บริก�รอื่น คือ ไม่ครอบคลุมการตรวจสุขภาพ  นอกจากนี้ มีเพียงผู้ประกันตนตามระบบนี้เท่านั้นที่ต้อง
                     ร่วมจ่ายค่าบริการเป็นภาคบังคับ โดยจ่ายเป็นเงินสมทบในกองทุนประกันสังคม  ขณะที่ผู้รับบริการ

                     ในระบบบริการอื่น เช่น ระบบสวัสดิการข้าราชการ ไม่ต้องร่วมจ่าย  และระบบหลักประกันสุขภาพฯ
                     ใช้การร่วมจ่ายตามความสมัครใจ แต่ผู้ประกันตนกลับได้รับบริการฯ ที่เท่ากันหรือด้อยกว่าผู้รับบริการ

                     ในระบบบริการอื่น
                                     ๒.๕)   ข้�ร�ชก�รต�มระบบสวัสดิก�รข้�ร�ชก�รส�ม�รถเข้�รับก�รรักษ�พย�บ�ล

                     ในโรงพย�บ�ลรัฐทุกแห่ง หรือโรงพย�บ�ลเอกชนบ�งแห่งต�มที่กระทรวงก�รคลังกำ�หนด โดยไม่ต้อง
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92